<VSN><<<มาใหม่ สายเขาอ้อ อ.ชุม,อ.ปาล,อ.คง, สรุปรายการหน้า๑๐๓>>><NSV>

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย momotaro67, 25 ธันวาคม 2010.

  1. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
  2. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
    สรุปรายการเด็ดๆ ที่มีอยู่นะครับ

    รายการที่1.>>> [FONT=&quot]เหรียญยกฐานะ เนื้อเงิน หลวงปู่ปัญญา [FONT=&quot]5 [/FONT][FONT=&quot]แผ่นดิน >>> ราคาพิเศษโทรถาม / หน้า1.
    [/FONT]
    [/FONT][​IMG] [​IMG]

    รายการที่2.>>> พระรุ่นบารมีธรรม เนื้อผง หลวงปู่ญาท่านสวน สภาพสวย สร้างในปี 2538[FONT=&quot] >>> 650บ. / หน้า1.[/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    รายการที่3.>>> เจ้าสัวหลวงปู่เจือ เนื้อผงยาจินดามณี กลิ่นหอมมาก[FONT=&quot] >>> 450บ. / หน้า1.[/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    รายการที่4.>>> พระผง พิมพ์พระแก้ว สาย อจ.อนันต์ สร้าง หลวงปู่พรหมา ปลุกเสก[FONT=&quot] >>> 800บ. / หน้า1.[/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    รายการที่5.>>> พระผง พิมพ์พระแก้ว พระผง พิมพ์พระแก้ว สาย อจ.เบิ้ม สร้าง[FONT=&quot] >>> 700บ. / หน้า1.[/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    รายการที่6.>>> พระแก้วมรกต พิมพ์ฤดูฝน หลวงพ่อเลียบวัดเลา ปี2518[FONT=&quot] >>> 900บ. / หน้า1.[/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    รายการที่7.>>> รูปเหมือน เบ้าทุบ ( รุ่นแรก ) พ่อท่านเขียว วัดห้วยเงาะ รุ่นมงคล80 เนื้อนวะ มี2องค์ No.969 & No.985[FONT=&quot] >>> องค์ละ 800บ. / หน้า1.[/FONT]
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    รายการที่8.>>> รูปเหมือนปั๊มรุ่นแรก หลวงปู่ปัญญา ปญฺญธโร วัดหนองผักหนาม ปี๒๕๕๓ "เนื้อทองทิพย์" หมายเลข ๗๕๔[FONT=&quot] >>> 1,050บ. / หน้า2.[/FONT]
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    รายการที่9.>>> รูปเหมือนปั๊มรุ่นแรก หลวงปู่ปัญญา ปญฺญธโร วัดหนองผักหนาม ปี๒๕๕๓ "เนื้อตะกั่วลองพิมพ์ กรรมการ" หมายเลข ๗[FONT=&quot]๒[/FONT][FONT=&quot] >>> 3,550บ. / หน้า2.
    [/FONT][​IMG] [​IMG]
     
  3. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
  4. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
    รายการที่10.>>> เหรียญหลวงปู่ดุลย์ วัดบูรพาราม จ.สุรินทร์ ปี2547 เนื้อทองแดง [FONT=&quot]>>> 150บ. / หน้า2.

    [​IMG] [​IMG]

    รายการที่11.>>> เหรียญฉลุ หลวงปู่พรหมมา กะไหล่ทอง [FONT=&quot]>>> 250บ. / หน้า2.

    [​IMG] [​IMG]

    รายการที่12.>>> รูปเหมือนปั๊มชิด หลวงพ่อเพี้ยน เนื้อกะไหล่ทอง [FONT=&quot]>>> 750บ. / หน้า2.

    [FONT=&quot][​IMG] [​IMG]

    รายการที่13.>>> เหรียญนั่งพาน หลวงพ่อทรง สร้างโดยโรงเรียนวัดศาลาดิน เนื้อทองแดง [FONT=&quot]>>> 450บ. / หน้า2.

    [​IMG] [​IMG]

    รายการที่14.>>> เหรียญนั่งพาน หลวงพ่อทรง สร้างโดยโรงเรียนวัดศาลาดิน เนื้อทองทิพย์ [FONT=&quot]>>> 450บ. / หน้า2.


    [​IMG] [​IMG]

    รายการที่15.>>> เหรียญกริ่งชาตรี หลวงปู่หงษ์ สุสานทุ่งม่น เนื้อเงิน รอยยิ้มแห่งความเมตตา [FONT=&quot]>>> รายการนี้โทรถามครับ / หน้า2.[/FONT]
    [​IMG] [​IMG]




    [/FONT]
    [/FONT]
    [/FONT]
    [/FONT]
    [/FONT]
    [/FONT]
     
  5. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่16.>>> [/FONT][/FONT][/FONT][FONT=&quot]ชูชก[/FONT][FONT=&quot]หนังกลองโบราณ[/FONT][FONT=&quot]สมปรารถนารุ่น "สร้างโบสถ์"[/FONT][FONT=&quot]หลวงปู่แดง[/FONT][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 950บ. / หน้า3.
    [/FONT][/FONT][/FONT][/FONT][​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่17.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]เสือหลวงพ่อปาน วัดมงคลโคธาวาส (บางเหี้ย) รุ่นสร้างกำแพงแก้ว เนื้อเงิน ปี2527[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 1,950บ. / หน้า3.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่18.>>> [/FONT][/FONT][/FONT][FONT=&quot]หนังสือรวมประวัติ ของหลวงปู่ญาท่านสวน[/FONT][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 350บ. / หน้า3.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่19.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]พระรูปหล่อญาท่านสวน รุ่นแรก ปี2536[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 1,350บ. / หน้า3.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่20.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]พระสมเด็จคำข้าว(พระมหาลาภ) หลวงพ่ิอฤาษีลิงดำ[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 550บ. / หน้า3.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่21.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]แหนบรูปหลวงพ่อฤาษีลิงดำ (พระราชพรหมยาน) วัดท่าซุง[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 250บ. / หน้า3.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่22.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]พระเนื้อดิน หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค พิมพ์ประทับสัตว์ รุ่นเสาร์๕ ปี2536[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 950บ. / หน้า3.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่23.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]พระเนื้อว่าน108 พิมพ์พ่อท่านเจ้าวัด วัดฉลอง จ.ภูเก็ตปี2551 วาระพิเศษครบรอบ 100 ปี "หลวงพ่อแช่ม"[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 300บ. / หน้า3.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่24.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]พระผงมหาจักรพรรดิ์ สร้างจากผงพุทธคุณ และเกศาหลวงปู่ดู่ พิมพ์พุทธซ้อน พศ.๒๕๔๓ ปลุกเสกโดยหลวงตาม้า[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 599บ. / หน้า3.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่25.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]พระผงมหาจักรพรรดิ์ สร้างจากผงพุทธคุณ และเกศาหลวงปู่ดู่ พิมพ์พระเหนือพรหม พศ.๒๕๔๓ ปลุกเสกโดยหลวงตาม้า[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 699บ. / หน้า3.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่26.>>> [/FONT][/FONT][/FONT][FONT=&quot]พระนางตราหลวงพ่อชู วัดมุมป้อม[/FONT][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> องค์ละ 450บ. / หน้า4.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่27.>>> [/FONT][/FONT][/FONT][FONT=&quot]ล็อคเก็ตหลวงพ่อหยอด[/FONT][FONT=&quot]วัดแก้วเจริญ[/FONT][FONT=&quot] พร้อมด้วยสมเด็จปรกโพธิ์คะแนน[/FONT][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 999บ. / หน้า4.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่28.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]พระสมเด็จยุคแรก หลวงปู่ผาด วัดไร่ จ.อ่างทอง[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 1,250บ. / หน้า4.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่29.>>> [/FONT][/FONT][/FONT][FONT=&quot]สมเด็จบึงพระยาสุเรนทร์[/FONT]พิมพ์เล็บมือ(ซุ้มกอ)องค์ที่1
    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 1,050บ. / หน้า4.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่30.>>> [/FONT][/FONT][/FONT][FONT=&quot]สมเด็จบึงพระยาสุเรนทร์[/FONT]พิมพ์เล็บมือ(ซุ้มกอ)องค์ที่1
    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 1,050บ. / หน้า4.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่31.>>> [/FONT][/FONT][/FONT][FONT=&quot]เหรียญหลวงพ่อคูณรุ่น[FONT=&quot]6 ออกวัดใหม่พิเรนท์ ปี2519 รอยจารชัด เนื้อกะไหล่ทอง[/FONT][/FONT][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 850บ. / หน้า4.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่32.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]เหรียญพระพุทธชินราช กะไหล่เก่า ห่วงเชื่อม หลังเรียบ มีรอยจารชัด[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 1,850บ. / หน้า4.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่33.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]เหรียญแสตมป์ หลวงพ่อเกษม รุ่น 5 รอบพรรษาหลวงพ่อเกษม เขมโก ปี36 เนื้อโลหะทองแดงรมดำ[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 150บ. / หน้า5.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่34.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]เหรียญมหามงคลไตรมาส 38 เนื้อทองทิพย์ หลวงปู่แว่น ธนปาโล[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 250บ. / หน้า5.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่35.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]เหรียญมหามงคลไตรมาส 38 เนื้อทองแดง หลวงปู่แว่น ธนปาโล[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 250บ. / หน้า5.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]

    [FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot]รายการที่36.>>> [/FONT][/FONT][/FONT]เหรียญหลวงพ่อสมภพ วัดสาลีโขภิตาราม หลังสิงห์ ปีพศ.2514[FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot][FONT=&quot] >>> 750บ. / หน้า5.[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
    [​IMG] [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 กุมภาพันธ์ 2011
  6. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
    [​IMG]
    If there were no words, no way to speak
    I would still hear you
    If there were no tears, no way to feel inside
    I'd still feel for you
    [​IMG]
    And even if the sun refused to shine
    Even if romance ran out of rhyme,
    You would still have my heart until the end of time
    You're all I need, my love, my valentine
    [​IMG]
    All of my life
    I have been waiting for all you give to me
    You've opened my eyes and shown me how to love unselfishly
    [​IMG]
    I've dreamed of this a thousand times before
    In my dreams I couldn't love you more
    I will give you my heart until the end of time
    You're all I need, my love, my valentine
    [​IMG]
    And even if the sun refused to shine,
    Even if romance ran out of rhyme,
    You would still have my heart until the end of time
    'Cause all I need is you, my valentine.
    You're all I need, my love, my valentine
    [​IMG]
     
  7. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
  8. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
    อย่าวัดคนแค่ภายนอก
    [​IMG]
    สุภาพสตรีในชุดกระโปรงผ้าฝ้ายเรียบๆกับสามีของเธอในชุดสูทเนื้อผ้าธรรมดาๆ ก้าวลงจากรถไฟในชานชาลาสถานีเมืองบอสตัน

    ทั้งคู่ยืนรออย่างสงบอยู่หน้าสำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
    เลขานุการสาวดูออกในแว่บเดียวว่าสามีภรรยาซอมซ่อคู่นี้มาจากบ้านนอก และไม่น่ามีธุระอะไรในมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดแห่งนี้ได้

    หล่อนขมวดคิ้ว
    "เราต้องการพบท่านอธิการบดี" สามีกล่าวนุ่มนวล

    "ท่านติดนัดตลอดทั้งวัน" เลขาฯสะบัดเสียงเล็กน้อย

    "งั้นเราจะรอ" ภรรยาตอบ

    เป็นเวลาหลายชั่วโมงที่เลขานุการทำเป็นไม่สนใจ
    โดยประมาณว่าทั้งคู่คงทนไม่ได้และกลับไปเอง

    แต่หาเป็นเช่นนั้นไม่
    เลขาฯสาวเริ่มไม่แน่ใจจึงต้องรบกวนเวลาท่านอธิการบดี

    "พวกเขาคงแค่อยากพบท่านครู่เดียวก็กลับ" หล่อนอธิบาย

    ท่านอธิการบดีถอนใจด้วยความเบื่อหน่ายแล้วก็พยักหน้าเสียไม่ได้
    จริงๆแล้วคนสำคัญระดับท่านอธิการจะมีเวลาพบคนระดับนี้ได้อย่างไร?แต่นั่น เถอะนะ ท่านคิด ดีกว่าปล่อยให้คู่สามีภรรยาบ้านนอกป้วนเปี้ยนอยู่แถวนี้ให้ใครต่อใครมาเห็น
    ท่านเขิดหน้าอย่างทรงเกียรติใส่ทั้งคู่

    ภรรยากล่าวขึ้น "ลูกชายของเราเคยเรียนในฮาร์วาร์ด 1 ปี เขารักฮาร์วาร์ดมากและเขาก็มีความสุขที่นี่อย่างยิ่ง แต่เมื่อปีที่แล้วเขาประสบอุบัติเหตุเสียชีวิต สามีและดิฉันก็เลยอยากทำอะไรสักอย่างไว้เป็นที่ระลึกถึงเขาในมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ท่านอธิการไม่รู้สึกร่วมแต่อย่างใด เพียงแต่ช็อคเล็กน้อย"

    "คุณผู้หญิง เราไม่สามารถสร้างรูปปั้นให้กับทุกคนที่เคยเรียนฮาร์วาร์ดแล้วก็ตายหรอกนะ ถ้าปล่อยให้เป็นอย่างนั้น ที่นี่คงดูไม่ต่างไปจากสุสานแน่"

    "โอ...ไม่ใช่อย่างนั้นค่ะ ท่านอธิการบดี" ภรรยารีบอธิบาย
    เราไม่ได้ต้องการจะสร้างรูปปั้น เราคิดว่าเราจะสร้างตึกให้ฮาร์วาร์ดต่างหาก"

    ท่านอธิการกรอกตาไปมา เขามองไปที่ชุดผ้าฝ้ายกับสูทบ้านนอก
    "สร้างตึก! พวกคุณรู้ไหมว่าใช้เงินเท่าไรในการสร้างตึกสักหลังหนึ่ง
    เราใช้เงินไปมากกว่า 7.5 ล้านดอลลาร์แค่ตอนเริ่มก่อตั้งฮาร์วาร์ดนี่"
    เป็นครู่ที่สุภาพสตรีเงียบกริบ

    ท่านอธิการรู้สึกโล่งอก

    ในที่สุดสามีภรรยาคู่นี้ก็ถูกกำจัดไปได้เสียที แล้วภรรยาก็หันมาพูดกับสามีเบาๆว่า
    "ใช้เงินแค่นั้นเองน่ะหรือในการสร้างมหาวิทยาลัย? แล้วทำไมเราไม่สร้างของเราเองสักแห่งหนึ่งล่ะ?" สามีผงกศีรษะ

    สีหน้าท่านอธิการเต็มไปด้วยความงงงวยสุดขีด
    แล้วนายและนาง ลีแลนด์ สแตนฟอร์ด ก็เดินทางไปยังพาโลอัลโตในแคลิฟอร์เนีย
    ที่ๆพวกเขาก่อตั้งมหาวิทยาลัยภายใต้นามสกุลของครอบครัว
    เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ลูกชายที่ฮาร์วาร์ดไม่เคยเห็นคุณค่า

    ..................................................................................

    มันเป็นเรื่องประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัย Standford ในสหรัฐฯ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยชื่อดังคู่แข่งกับมหาวิทยาลัย Harvard แต่มันสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมของคนที่ชอบตัดสินคนอื่นจากเปลือกนอก และอเมริกาประเทศที่เราอยากจะเอาตามอย่างเขาเหลือเกิน!!


     
  9. รับโชค

    รับโชค เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    2,131
    ค่าพลัง:
    +11,878
    ทักทายยามบ่ายครับท่านโม:cool::cool::cool:
     
  10. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD vAlign=top>
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 bgColor=#999999><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD height=50 vAlign=top>เอาแบบนี้มั้ยน้องให้ฟรีแต่ต้องแขวนทุกวันนะ
    -----------------------------------------------------------
    นายสมพร พันธ์เฉลิมชัย นายก อบต.ห้วยทับมอญ กิ่ง อ.เขาชะเมา จ.ระยอง โชว์พระสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ขนาด 4 นิ้วคูณ 8 นิ้ว แถมกรอบทำด้วยเหล็กทาสีทอง น้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรัม กำลังเป็นที่ฮือฮาทั้งตำบล
    ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ได้พบนายสมพร พันธ์เฉลิมชัย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยทับมอญ กิ่ง อ.เขาชะเมา จ.ระยอง แขวนพระสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี องค์ใหญ่ขนาด 4 นิ้ว คูณ 8 นิ้ว เลี่ยมกรอบด้วยเหล็กพ่นสีทอง มีน้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรัม และยังห้อยจตุคามรามเทพ วัดสุทธาวาส 1 องค์ และของวัดป่ามหาวัน อีก 1 องค์
    ทันทีที่พบผู้สื่อข่าวแสดงสีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส และกล่าวว่าสมเด็จองค์นี้มีผู้สูงอายุที่นับถือ นำมาให้เพื่อเป็นสิริมงคล แต่เนื่องจากสมเด็จองค์ใหญ่มาก ถ้าจะเลี่ยมกรอบทองคงต้องใช้เงินจำนวนมาก จึงให้ช่างกลึงนำเหล็กมาเชื่อมกรอบแล้วทาสีทอง ทำห่วงคล้องสร้อยคอแขวน คนในหมู่บ้านเขาชะเมาเห็นแขวนพระสมเด็จองค์ใหญ่จะให้ความสนใจ บางคนถามว่ามีหลายองค์หรือไม่จะขอเช่า โดยเสนอราคาสูงมากเพื่อจะนำไปคล้องคอบ้าง บางคนก็จะขอเช่าไปบูชา
    นายสมพร กล่าวว่า ตนเป็นคนที่ไม่คิดที่จะขายสิ่งที่มีคุณค่าสำหรับตัวเรา โดยเฉพาะสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ซึ่งผู้สูงอายุที่ตนเคารพนับถือให้มาเป็นสิริมงคลในการทำหน้าที่บริหารและพัฒนา ต.ห้วยทับมอญ ให้มีความเจริญก้าวหน้า ตั้งแต่ห้อยสมเด็จโตมีความรู้สึกว่าการทำงานบริหารใน อบต.ราบรื่นไม่มีอุปสรรค สมาชิกฯทุกท่านให้ความร่วมมือที่ดี เพราะทุกคนมีจิตสำนึกมุ่งหมายทิศทางเดียวกัน อยากเห็นพื้นที่ต.ห้วยทับมอญ มีความเจริญ ถึงแม้ห้วยทับมอญมีพื้นที่ป่าและภูเขาที่ทอดยาวติดต่อกับ อบต.น้ำเป็น ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวน้ำตกเขาชะเมา และน้ำตกคลองปลาก้าง ที่สวยงาม
    นายสมพร กล่าวต่อว่า ตนห้อยพระสมเด็จพุฒาจารย์องค์นี้ สร้างความฮือฮาใน ต.ห้วยทับมอญ และเขาชะเมา ปัจจุบันข่าวเรื่องจตุคามรามเทพ ฮือฮามากในทุกพื้นที่ แต่เมื่อเห็นตนห้อยสมเด็จพุฒาจารย์องค์นี้ซึ่งใหญ่มาก ชาวบ้านในตำบลฮือฮายิ่งกว่าจตุคามรามเทพเสียอีก เวลาไปร่วมงานหรือไปทำงานก็จะห้อยสมเด็จพุฒาจารย์โตไว้นอกเสื้อด้วยทุกครั้ง จะทำอะไรเดี๋ยวนี้มีความรู้สึกงานทุกอย่างราบรื่นไปหมด
    ทั้งนี้ คิดว่าด้วยบุญบารมีของสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ทำให้หน้าที่การงานทั้งในเรื่องส่วนตัวดูดีไปหมด ก่อนหน้านี้เจอแต่ปัญหาอุปสรรค ชีวิตไม่ค่อยราบรื่นเหมือนปัจจุบันนี้ แต่ถ้าถามว่าห้อยสมเด็จหนักเป็นกิโลฯไม่หนักและไม่เมื่อยคอบ้างหรือ ยอมรับว่าห้อยคอนานๆ ก็รู้สึกเมื่อยคอบ้างเหมือนกัน
    ที่มา จากหนังสือพิมพ์ "ผู้จัดการออนไลน์"
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
  12. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
  13. รับโชค

    รับโชค เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    2,131
    ค่าพลัง:
    +11,878
    ไม่ลงพระแล้วเหรอครับท่านโม อิอิอิอิ การ์ตูนขำดีครับ ชอบ ชอบ ชอบ
     
  14. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
    [​IMG]


    [FONT=&quot]พระกริ่งพรหมรังสีรุ่นแรก ของ หลวงปู่นาม วัดน้อยชมภู่[/FONT]

    [FONT=&quot]หลวงปู่นาม พระปฏิบัติดีมีศีลบริสุทธิ์บารมีสูง เมตตาดีเก่งจริง มีดีจริง เงียบเก็บตัว[/FONT]

    [FONT=&quot]พระกริ่ง พรหมรังสี รุ่นนี้ พระสงฆ์ผู้ใหญ่วัดระฆังโฆสิตารามหลายท่าน จารแผ่นยันต์ 108 นปัถมัง 14 นะ[/FONT]
    [FONT=&quot]มาถวายหลวงปู่นามสร้างพระกริ่งพรหมรังสี[/FONT]

    [FONT=&quot]ท่านเจ้าคุณเที่ยงเจ้าอาวาสวัดระฆังมาร่วมเททองหล่อพระกริ่งพรหมรังสีรุ่นแรกหลวงปู่นาม[/FONT]

    [FONT=&quot]แสดงว่าท่านมีจิตศรัทธาหลวงปู่นามให้ความสำคัญเป็นอย่างมากๆ[/FONT]

    [FONT=&quot](ท่านเจ้าคุณเที่ยงองค์นี้บารมีดีไม่ธรรมดา เป็นเจ้าพิธีหล่อพระประธานมามากต่อมากแล้วชอบสร้างพระแจก เก่ง เงียบ บินเดี่ยว)[/FONT]

    [FONT=&quot]พระกริ่งพรหมรังสี ก้นอุดผงพิเศษจริงๆสุดยอด[/FONT]

    [FONT=&quot]1. ผงสมเด็จวัดระฆัง หลวงปู่เก็บสะสมมานาน ตอนอยู่วัดระฆัง[/FONT]
    [FONT=&quot]2. ผงเทพนิมิต ผง วิเศษหลวงปู่คงอาจารย์ขุนแผนซึ่งขุดพบจากโคกโบสถ์เก่าใต้ฐานเจดีย์ ณ บ้านศรีประจันทร์ จังหวัดสุพรรณบุรี ผงเทพนิมิตอาจารย์ชุม ไชยคีรีนำไปสร้างพระพุทธคุณแรงสุดยอด[/FONT]
    [FONT=&quot]3. ผงพรายทวีศักดิ์ ( พระสำเร็จ ) พุทธคุณดีบารมีสุดยอด[/FONT]
    [FONT=&quot]การสร้างพระกริ่งพรหมรังสีรุ่นแรก ควบคุมดูแลการสร้างลูกศิษย์กรรมการในวัดและหลวงปู่นาม[/FONT]

    [FONT=&quot]จำนวนการสร้างที่ชัดเจน แน่นอน เงินเข้าวัด สบายใจที่ได้ของดีบารมีสูงพุทธคุณแรงสุดยอด [/FONT]

    [FONT=&quot]สถาปนานามพระกริ่งพรหมรังสี[/FONT]
    [FONT=&quot]อาตมาภาพ "พระ นาม" น้อมถวายมงคลนาม[/FONT]
    [FONT=&quot]สถาปนานามพระกริ่ง พรหมรังสี[/FONT]
    [FONT=&quot]ศุภมงคลวาล พุทธกาลสมัย ล่วงเข้าพระพุทธศาสนากลาลจำเดิมแต่พระพุทธเจ้าบรมโลกนาถปรินิพานล่วงมาแล้ว ๒๕๕๓ ปี กาลสมัยอาตมาภาพ "พระนาม" ภิกษุพุทธสาวกในพระศาสนาเจริญงอกงามตามสมควรสมณสารูปผ่านพ้นมา ๖๐ พรรษากาล น้อมลำลึกนึกถึงคุณพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็นบรมครูของเทวดา และมนุษย์ ทรงเหนือเทพ เหนือพรหมทั้งปวง อยู่เหนือไตรโลกธาตุ เอกอุสมบูรณ์ด้วยะรรมอันเป็นเหตุหมื่นอนันต์ข้ามพ้นกาลสมัยธรรมานุธรรมขจร ขจายไปทั่วสรรพชีวิตดังและ บรมสาวกะผู้ ยึดมั่นคำสอนเดินตามแนวแห่งพระสัตจธรรม รวมเรียกว่าพระรัตนตรัยแก้วผู้ส่องชี้ทางให้โลกนำสรรสัตว์ออกจากบ่วงพญา มัจจุราชมานานช้า อาตมาภาพ น้อมรำลึกทุกลมหายใจตราบชีวิตจะหาไม่ เมื่ออายุกาลก่อนปัจฉิมวัย อาตมาภาพเคยไปจำพรรษา ณ วัดระฆังโฆสิตาราม ในพระนคร อารามแห่งพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่๑ ทรงศรัทธาสถาปนาได้เรียนรู่สรรพวิชา ของพระมหาเถระพระผู้เฒ่า แห่งกรุงรัตรโกสินทร์ผู่ที่คงเอกแห่งบรมพุทธสาวก นามว่า"สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) อาตมาประทับจิต และสะกิดใจ ว่าพระบรมสาวกของพระศาสดา สามารถช่วยจรรโลงโลกให้สว่าง กระจ่างแจ้งให้ตราบนานเท่าน่น แม้องค์เจ้าประคุณสมเด็จ(โต) จะมรณภาพดับขันธ์ไปชั่วกว่าร้อยปี คุณความดีของสมเด็จก็หาจางไปไม่ กลับฟุ้งกระจายในหมู่สาธุชนมากมายเหลือคณานับดังต้นไม้ใหญ่ที่แผ่กิ่งก้าน สาขา ให้ปกให้ร่มเงา คลุมสรรพสัตว์ทุกชีวิตตินทรีย์ เป็นที่พึ่งที่ระลึกถึง[/FONT]
    [FONT=&quot]อ้าง อัญเชิญคุณพระรัตนตรัยอันประเสริฐสูงสุดเป็นปฐมกาล กอปรด้วยการบูชาพระคุณผู้ให้สรรวิชา องค์เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต) อาตมาภาพขอน้อมกายถวายชีวิตสร้าง พระ พุทธองค์น้อย เป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆังบูชา อาจาริยบูชา เพื่อสืบพระศาสนากาลให้ครบ ๕๐๐๐ ปี เป็นพลานุปัจจัยประกาศให้สาธุชนได้ บูชา มงคลแห่งมหาบุรุษตามพุทธบาลีที่ว่า "ปูชาปูชะนียานัง เอตัมมัง คะละมุตตะมัง บูชาบุคคลที่ควรบูชานั้นเป็นมงคลสูงสุด"[/FONT]
    [FONT=&quot]อาตมาภาพขอประนมหัตนมัสการน้อมถวายนามอันเป็นมงคลของพระพุทธรูปองค์น้อย ที่อาตมาสร้าง[/FONT]
    [FONT=&quot]ว่า "พรหมรังสี" ด้วยมลคลประโยชน์ ๓ ประการ [/FONT]
    [FONT=&quot]พรหมรังสี แปลตามภาษา พระบ้านนอกความรู้น้อยอย่างอาตมาว่า "รัศมีของพรหม"[/FONT]
    [FONT=&quot]อ้าง อัญเชิญ พระพุทธเจ้าบรมศาสดา ทรงได้รับยกย่องว่า เป็น พระพุทธเจ้า ท่านอยู่เหนือพรหม อยู่ ยอดพรหม แผ่ฉัพพรรณรังสีคุมพรหมทั้งหมด นามพรหมรังสีจึงเทิดทูลพุทธเจ้าว่า "ทรงพระเมตตาแผ่ฉัพพรรณรังสีรัศมีความดีบริสุทธิ์อยู่เหนือพรหม เหนือโลกทั้งปวง หมายว่าเป็นพระนามหนึ่งของพระพุทธองค์ ที่ทรงแผ่รังสี ปกคลุม เหล่า สาธุชนทุกทั่วหน้าไม่เลือกชั้นวรรณณะ พลานุภาพ สงเคราะห์สรรพสัตว์หาเลือกไม่[/FONT]
    [FONT=&quot]อีกประการหนึ่ง อาตมาภาพต้องการบูชาพระคุณมหาเถระผู้เป็นเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์นามว่า "สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) "ทรงมีฉายานามตามพระบาลีว่า "พรหมรังสี" รับภารธุระทั้งคดีโลก คดีธรรม เป็นหลักแห่งพระพุทธศาสนาในช่วง รัชสมัย พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่๔) พระปิยมหาราช(รัชกาลที่๕) สรรพวิชาบารมี ยังเกื้อกูลมายังพระบ้านนอกอย่างอาตมาได้มีบุญร่ำเรียนถือหลัก สนองพระคุณแผ่นดิน สงเคราะห์พุทธบริษัท มาถึงปัจจุบันกาล[/FONT]
    [FONT=&quot]มีพุทธบาลีว่า " ดูกรภิกษุทั้งหลาย คำว่าพรหมบูรพาจารย์ บุรพเทพ อาหุเนยบุคคล นี้เป็นชื่อของมารดาและบิดา ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะมารดาและบิดา เป็นผู้มีอุปการะมากเลี้ยงดูบุตร เป็นผู้แสดงโลกนี้แก่บุตร เมื่อระลึกถึงพระรัตนตรัย อันทรงคุณสูงสุดแล้วก็ต้องกราบบิดามารดาผู้เป็นดุจ พรหมของบุตร ด้วย คำว่าพรหมรังสี จึงอุปมาได้ว่า รัศมีแห่งบิดามารดา ที่อุ้มชู เรามา พระคุณ ตราบแผ่นฟ้าผืนดินก็หาสิ้นไม่ [/FONT]
    [FONT=&quot]นาม "พรหมรังสี" [/FONT]
    [FONT=&quot]จึงมีที่มาอย่างที่ อาตมา พรรณณามานี้[/FONT]
    [FONT=&quot]ขอ คุณความดีเอกบรมองค์พระสรรชุดาญาณ องค์ สมเด็จ(โต พรหมรังสี) แผ่อานุภาพแห่งช่วงกลมกาลมายังเรา ณ กาลบัดนี้ ขอพรหมคุณ แห่งบิดามารดา ปกป้อง คุ้มเกล้า เกศีทั่วอินทรีย์แล ขอให้ท่านพึงรักษาศีลตามสมควร ประพฤติรรมอันมีอุปการะมาก มีสมาธิทุกวาระจิต เป็นนิตกาล เทอญ[/FONT]
    [FONT=&quot]พระภิกษุ นาม สาสนปโชโต[/FONT]
    [FONT=&quot](พระครูสุวรรณศาสนคุณ) [/FONT]
    [FONT=&quot]คำที่หลวงปูพระอุปัชฌาย์นาม[/FONT]
    [FONT=&quot]ได้เขียนขึ้นเพื่อถวายมงคลนาม[/FONT]

    [FONT=&quot]พระกริ่งพรหมรังสี [/FONT]
    [FONT=&quot]จำนวนการสร้างที่ชัดเจน แน่นอน เงินเข้าวัด สบายใจที่ได้ของดีบารมีสูงพุทธคุณแรงสุดยอด[/FONT]


    [FONT=&quot]พระกริ่งพรหมรังสี เนื้อนวะก้นอุดผง มีตำหนิเล็กน้อยที่พระเศียร แต่พุทธคุณครบสมบูรณ์ครับ[/FONT]


    [FONT=&quot]*ปิดรายการนี้ครับ[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • SAM_2408.jpg
      SAM_2408.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.2 MB
      เปิดดู:
      219
    • SAM_2409.jpg
      SAM_2409.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1 MB
      เปิดดู:
      285
    • SAM_2414.jpg
      SAM_2414.jpg
      ขนาดไฟล์:
      707.3 KB
      เปิดดู:
      206
    • SAM_2412.jpg
      SAM_2412.jpg
      ขนาดไฟล์:
      718.5 KB
      เปิดดู:
      70
    • SAM_2405.jpg
      SAM_2405.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.1 MB
      เปิดดู:
      74
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 กันยายน 2011
  15. ชายชุดขาว

    ชายชุดขาว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    4,007
    ค่าพลัง:
    +12,706
    สวัสดีครับคุณโม

    มีแต่พระแพงๆ ทั้งนั้นเลยนะครับ :cool:

    อยากจองบ้าง แต่เงินคงไม่พอ อิอิ
     
  16. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460

    โออย่างเสียนาวี มีคำว่าแพงด้วยหรือนี่ อิอิอิ
    สบายดีนะครับ
     
  17. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460

    ช่วงนี้งานเข้าครับเลยไม่ค่อยมีเวลา
    สบายดีมีความสุขนะครับ
     
  18. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
  19. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
    วันพระเอาธรรมะมาฝากครับ

    การฝึกตนให้มีสติควบคุมจิต

    โดยพระอาจารย์ ประสิทธิ์ ปุญญมากโร
    วัดป่าหมู่ใหม่ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่



    การฝึกตนให้มี สติสัมปชัญญะ รู้สึกตัวทั่วพร้อม เป็นสิ่ง สำคัญต่อการดำรงชีวิต

    ผู้มีสติรู้ตัวอยู่ตลอดเวลา จะเป็นผู้ได้ รับประโยชน์ การกระทำกิจการใดๆ ก็ลุล่วงไปด้วยดี ไม่ี่ค่อย มีสิ่งผิดพลาดเกิดขึ้น


    ๑. มีสติรู้ตัว
    รู้ลมหายใจเข้า-ออก มีสติอยู่รู้ว่า ขณะนี้ หายใจเข้ายาว-หายใจออกยาว ก็รู้อยู่ หายใจเข้าสั้น-หายใจออกสั้น ก็รู้อยู่ อาจจะ ใช้คำภาวนาในใจ อย่างใดกำกับตามไปด้วยก็ได้

    ๒. มีสติรู้ตัว
    ตามรู้จิต เมื่อ มีสติ รู้ลมหายใจอยู่ ก็ตามรู้จิต ธรรมชาติของจิต มีความหลุกหลิก กลิ้งกลอกอ่อนไหว ว่องไว คิดเรื่อยเปื่อยไปได้ทั้งดีและชั่ว ต้องใช้สติต่างเชือกมัดจิตไว้กับหลัก คือลมหายใจให้ได้ จิตคิดวิ่งไปที่ไหน ก็ใช้สติระลึกรู้ตาม ไปประคองจิตไว้ไม่ให้คิดในเรื่องชั่ว อันเป็น บาปทุจริต ประคอง จิตไว้ให้คิดในเรื่องดี อันเป็นบุญสุจริต เท่านั้น ความผ่องใส ในจิตจะเกิดเพิ่มขึ้น ความทุกข์ก็จะค่อยสิ้นไป

    ๓. มีสติรู้ตัว
    ทุกอิริยาบถของร่างกาย มี สติระลึก รู้ตัวตั้งแต่ตื่น นอนลืมตาขึ้นมาว่า ตื่นแล้วกำลังจะลุกขึ้นนั่ง ย่างก้าวเดินเข้าห้องน้ำ แปรงฟัน อาบน้ำ ขับถ่าย ๆลๆ มีสติระลึกรู้ตัวไปทั่วทุกสิ่ง ทั่วทุกอิริยาบถ เคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน เหลียวซ้าย แลขวา ก้าวหน้า ถอยหลัง ก็ทำสติตามรู้ทุกอย่างไป แม้จะยังไม่บริบูรณ์ ด้วยจิตหนีหายหลบไป เมื่อรู้ตัวก็กำหนดสติต่อไป จะเกิดผล เป็นผู้มีพลัง สติคุมจิต ตั้งมั่นเกิดสมาธิ

    ๔. มีสติรู้ตัว
    พิจารณาให้เห็นความจริง มีสติพิจารณา ในความเป็น ธรรมชาติ ที่มีเห็นอยู่ รอบๆ ตัวเรานี้ ล้วนเป็นสิ่งไม่เที่ยง คงทนถาวรอยู่ได้ตลอดไป เกิดมีขึ้นแล้ว ต้องมีการเปลี่ยนแปลงไป ไม่หยุดนิ่ง แล้วก็ดับหายตายจากไป ไม่เราจากสิ่งนั้นไปก่อน สิ่งนั้น ก็ จากเราไปก่อน ไม่มีใครจะยึดเหนี่ยวรั้งสิ่งใดไว้ได้ เป็น ธรรมชาต ิที่เลื่อนไหลไปอยู่อย่างนั้นเป็นธรรมดาอย่ายึดถือไว้เป็ีนความทุกข์

    ๕. มีสติรู้ตัว
    ถอนความยึดถือ ในตัวตนเสีย มี สติพิจารณา ดูลงไป ที่ตัวเราเองว่า มีอะไรบ้าง หรือที่เราบังคับได้บ้าง ร่างกายนี้ตั้งแต่เกิดมา มีแต่ ความเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่ง เกิดมาได้อย่างไร ไม่รู้ตัว เลย(หรือใครรู้ตัวบ้างช่วยบอกที) มารู้ตัวเอาก็ต่อเมื่อเติบโตพอจำความได้แล้ว ก็มีความเปลี่ยนแปลง ไม่หยุดยั้ง แล้วก็ต้องตายไป ทำพิธีต่ออาย ุสืบชะตาอย่างไร ก็ต้องตายทุกคน แล้วจะยึดถือว่าเป็นตัวเรา ของเราได้อย่างไร ตายแล้วไม่เผาได ก็ฝังดินเท่านั้นเอง มันเป็นเพียงธรรมชาิติ ที่เกิด ขึ้นแล้วก็ดับไป เราเพียงยืมใช้ได้อาศัยศึกษา รักษาไว้เป็นพาหนะ ให้ทำความดี เพื่อข้ามวัฎสงสารเท่้านั้น

    ๖. มีสติรู้ตัว
    พูดจาให้น้อยลง พูดเท่าที่จำเป็น จะต้องพูด ด้วยความมีสติรู้ตัวอยู่ การ พูดมากมีโอกาสพูดผิดได้มาก ไม่เกิดประโยชน์แล้วยังเป็นโทษอีกด้วย เป็นผู้ฟังแล้วตามคิด เลือกจำสิ่งดีๆ มาใช้จะได้ประโยชน์ กว่าคนพูดมาก มักขาดสติง่าย เป็นผู้ฟังที่โทษน้อย หรือไม่มีเลย แต่เป็นผู้ได้รู้มากกว่าผู้พูด

    ทั้ง ๖ ข้อนี้ ที่กล่าวมาแล้วนี้ เป็นสิ่งที่ควรสนใจฝึกอบรมสติ ควบคุมจิต ให้เกิดพลังจิตที่มีประสิทธิภาพ ที่ควรแก่การงาน การกระทำกิจการงานใดๆ จะมีความสำเร็จ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ เป็นพื้นฐานที่ถูกต้องต่อการดำรงชีวิต และการปฏิบัติธรรมให้ก้าวหน้า เจริญสู่ขั้นสูงได้ง่าย ต่อไป การฝึกฝนตนเอง ด้วยการมีสติควบคุมจิต ต้องใช้ความเพียรอย่างมาก เพียงใดก็ตาม ก็ อย่า ได้มีความท้อถอย ที่ใดมีความตั้งใจจริง เพียรพยายามอยู่ ความสำเร็จย่อมมี ตามมาอย่างมิสงสัย


    คัดลอกจาก ตรงประเด็น ลานธรรมเสวนา
    การฝึกตนให้มีสติควบคุมจิต - ลานธรรมเสวนา __________________
     
  20. momotaro67

    momotaro67 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    7,091
    ค่าพลัง:
    +5,460
    [​IMG]
    พระธรรมเทศนา
    โดย พระอาจารย์ประสิทธิ์ ปุญญมากโร


    เสียงของจิต


    วันพระ วันที่เราพร้องเพรียง คือความพร้อมเพรียง ในการร่วม ปฏิบัติ อย่างที่เราทำวัตร เราสวมมนต์ นอกจากนั้น เราก็พากันพร้อมเพรียงนั่งอบรมสมาธิ ภาวนา ซึ่งเป็นการ เพิ่มพูนสติปัญญาของพวกเรา ปกติการ ภาวนาก็ไม่ได้ใช้เสียงข้างนอก คือ เราเอาเสียง เข้าไปไว้ในใจ เอาไปไว้ที่ ความสงบ มิได้เป็นเสียงพูด มิได้เป็นเสียงภายนอก เป็นเสียงนึก เป็นเสียง ของจิตของเรา เรานึกให้ได้ยินภายใน เพื่อจะได้รู้จักว่า ความสงบ ใจอันเกิดจากที่เราไม่ได้ส่งออกมา ภายนอก และนึกเข้าไป สงบไปรักษาไว้ เฉพาะในจิต ในความรู้เฉพาะ ร่างกายของเรา ฉะนั้นทางที่เราทำ ความสงบ เราก็ป้องกันไม่ให้มีเสียง ภายนอกเข้าไป กระทบอย่างที่เรา อาศัยที่ อาศัยความสงบของสถานที่แห่งนี้ ก็เพราะว่า มันจะไม่ได้แย่งกัน มันจะ ไม่ได้มากระทบกัน มันจะได้มีเสียงนึก เสียงสงบ อยุ่ในจิตที่เดียวแต่ ถ้ามันม ีข้างนอกที่มันเป็นคู่ สองที่มันสองที่ จิตของเราก็จะเกิดความรับรู้ ทำให้ความ สงบนั้นมันแยกกัน

    ดังนั้นท่านจึงให้เอาเสียงที่เราเคยพูด เคยส่ง ออกมาข้างนอก กลับคืน ไว้ไว้ในใจ ให้มันรู้เฉพาะความสงบ ความนิ่ง ความที่มันมีสมาธิ ก็คือมันนิ่งอยู่ แต่มันรู้ตัว รู้ตัว คือรู้ร่างกายนี่แหละ ก็ให้มีสติรู้ตัวอยู่ ไม่ได้สงบอยุ๋ เฉพาะจิต หรือเรียกว่า เขาทำความสงบ ให้กาย ให้วาจา ให้จิตของเรานิ่ง มารวมกันเป็นอันเดียวกัน มันไม่ได้แยกกัน คือว่ามันเป็นธรรม หรือว่ามันเป็นบท กัมมัฎฐาน ที่มันรวมกันอยู่ มันไม่ได้แยกกัน เวลาเราทำความ สงบ อย่างร่างกายนี้ เราก็ให้สงบ เราก็นั่งทำสมาธิให้มันได้สัดส่วน มันไม่เอียง ถ้าเรานั่งพับเพียบ มันก็เอียงข้างหนึ่ง ฉะนั้นการมี่นั่งสมาธิ เป็นท่าที่ได้สัด ส่วนของร่างกาย แล้วมันก็จะตรง มันไม่เอียง ทำให้เรานั่งได้สะดวก มันไม่ เป็นการทำให้ความรู้สึกในกายขัดเคืองใจเรา มันก็เลยได้ความสงบไปด้วยกัน แต่ว่าเราก็มีสติ ได้รับรู้ เพราะว่าเราปฏิบัติไป เราก็จะรู้สิ่งที่จะให้เรา ได้เกิดความรู้เกี่ยว กับการนั่งการปฏิบัติของเรา จากการกำหนดภาวนา ไปด้วย แล้วสิ่งที่มีความรู้ที่เป็นธรรม มันก็มีอยู่กับรูปร่างกายของคนเราทุกคน มีพร้อมมีสมบูรณ์ คือไม่บกพร่อง มีแต่เพียงว่าเราต้องทำเข้าไปให้ถึงที่ฐษน ถึงจะรู้แต่เราก็ทำจิต ทำกรรม ภายนอก เป็นประจำนั่นแหละ อย่างเรา ไม่ได้นั่งสงบอย่างนี้ เราทำจิตภายนอก ก็รู้สึกตัวแบบภายนอก แล้วเราก็ส่งจิต ส่งสติออกไปควบคุมภายนอก นั่นเรียกว่าเราส่งออกไปนอก ที่นอกธรรม แล้วก็นอกความสงบ อย่างว่าโลกภายนอก คือโลกที่เราต้องทำจิต ธรรมต่างๆ ที่อยู่ข้างนอก ไม่ได้เป็นกัมมัฏฐาน คือการภาวนา การปฏิบัติเรา น้อมกลับคืนเข้าไปหาจิตหาร่างกายภายใน เราเอากลับคืนไป แต่เพียง ว่าเป็นการที่เอาความดีที่เคยอยู่ข้างนอกเคยเที่ยว ไปนอกกายนี่แหละ ก็คือ การไปรวมไว้ที่จิตที่ความสงบการทำอย่างนี้เป็นการทำเพื่อสร้างธรรม สร้าง ความรู้ คือเป็นหนทาง เป็นมรรค เป็นทางเดิน

    ชีวิตคนเราก็จะเป็นอย่างนี้ คือจะต้องเดินออก เดินเข้าอย่างนี้อย่างนั้น รูปร่างกายนี้ ท่านก็บอกว่าเป็นเส้นทางเป็นมรรค เป็นหนทางที่ผิด เราต้องเที่ยว เราเจริญเราก็เกิดมา เป็นคน เกิดมาเดินทางนั่นแหละ ทว่าตามหลักธรรม
    เกิดมาเดินทางไกล แต่ละคนก็เดินทางไกล คือไกลขนาดไหน ก็แล้วแต่กำลัง ถ้าคนกำลังดีก็เดินไปได้ถึง ๑๐๐ กว่าปี ถ้าคนกำลังไม่ดี ก็ ๘๐ ๗๐ ๖๐ ๕๐ ลงมาจนถึง ๑๐ ๒๐ ปี ไล่มา เพราะว่ามันอยุ่ที่กำลัง กรรม กำลังแรงที่จะส่งผลไปให้ท่านจึงบอกว่า ร่างกาย รูปร่างก็เป็นเส้นทางของเรา ทุกคน ที่จะต้องมีไว้สำหรับเดิน คือจิตของ เราก็เป็น เจ้าของพร้อมมาตั้งแต่เริ่มตัดเส้นทางเดินมา เดินทางมาก็เดินเพื่อเดินทางไกลนั่นแหละ เดินทางจงกรม เดินไปแก้กรรม ไปทำกรรมต่างๆ ที่เรายังไม่เพียงพอ

    อย่างพระพุทธเจ้า ของเราเหมือนกัน ท่านก็เดินทางไกล นับเป็นแสน แสนชาตินั่นแหละ คือเดินไปเดินมา วกวนกลับไปกลับมานี่ อย่างนั้น ท่านสอนให้เราแก้กรรม ก็สอนให้แก้ร่างกายของเราอย่างเดียว อย่างที่ว่า เราสวดกัมมัฏฐานสวดกายคตาสติ อย่างที่เราสวดประจำนี่ อาการ ๓๒ เราก็สวดทุกวัน ทุกวันพระ เราก็สวดเป็นการ เตือนสติให้เรา มีสติให้ เรานำจิตของเราเดินทาง คือการเดินทางขึ้น เดินทางล่องกลับ อย่างที่ว่า ให้เรากำหนดพิจารณาเบื้องบน แต่พื้นเท้าคือตั้งแต่ตีน ตั้งแต่พื้น ของเราขึ้นมา เบื้องต่ำก็ตั้งแต่รากขวัญลงไป อย่างนี้ คือก็เป็นทางขึ้นสูง และทางลงต่ำ แล้วเป็นการกลับการเดินอย่างนี้ เดินขึ้น เดินลง เดินเข้า เดินออกอย่างนี้ นี่แหละท่านให้เป็นทางเดิน คือจิต ความรู้ สติเราเดิน เราเดินเพื่อจะได้รู้จัก เพื่อจะให้เส้นทางนั้นมันล่ม เดินไปเดินมา ปัญญามันก็เกิด พอปัญญาเกิดขึ้น ความรู้ ความสว่าง มันเกิดขึ้น ก็ปัญญานี้เป็นแสงสว่างของจิต ก็เป็นแสงของความดีที่เราสร้างจาก การเดิน การปฏิบัติการที่เรากลับไป กลับมา ทบทวนเรียกว่าเป็น อนุโลม ปฏิโลม เราออกไปข้างนอก เราก็กลับ เข้ามาดูข้างในมากำหนดมาทำความสงบ คือให้จิตของเรา ได้มาอยู่ข้างใน เพื่อจะได้รักษา ไม่ให้สิ่งเป็นภัยเป็นพิษ มากระทบรบกวนอย่างนี้ อย่างที่เรา มาอยู่ในศีลอย่างนี้ ก็หลบภัยนั่นแหละ หลบภัยจากบาป จากกิเลสต่างๆ ถ้าเราไม่อยู่ในศีล เราออกนอก ศีลเราก็มีภัยแล้ว มีบาปแล้ว แล้วก็ออกนอกทางไป ผิดทางไปแล้วว ไม่อยู่ในธรรมะทางศีล

    ฉะนั้นให้เราท่านกำหนดเส้นทางของเรา กำหนดร่างกายเรา มีจิตผูกอยุ่ กับสติ กับตัวเราอย่างนั้นแหละ ด้วยความรักษา คือรักษาทางรักษา ธรรม ที่เราเดิน เราปฎิบัติกัน ก็รักษาอย่างนั้น เพราะว่าจะไม่ให้มันหลงทาง จะไมให้ทาง มันมัวหมอง อย่างนี้ เราต้องขยัน ต้องขยันเดิน เหมือนเราเดินทาง พื้นดิน เราเดินที่เดียว เราเดินเส้นเดียว อย่างที่เราเดินจงกรมอย่างนี้ เราเดิน กลับไปกลับมาอย่างนี้ มันก็กลับเป็นรูปเป็นรอย เป็นความที่ว่า ราบรื่นขึ้น จะดูข้างนอกก็จะต่างกัน จิตที่เรา ไม่เดินมันก็จะไม่มีรอย แล้วมันก็จะลบ แต่ถ้าเราเดินมันก็จะมีรอย มันจะมีความราบรื่น มีการขัดเราก็จะเห็น อย่างเราเดินจงกรม แต่ถ้าเราไม่เดิน มันก็จะไม่มีรอย นั่นเรียกว่า เรามีสติ

    เดินทางในร่างกายเราก็เหมือนกัน พอเราฝึกเดิน เราก็จะมีสติเดินขึ้น เดินล่อง มันก็จะมีรอย มันจะกำหนดรู้ด้วยสติ ความละเอียดของสติภายใน มันจะเห็น มันจะเห็นทาง คือ ทางรุป ทางกัมฏานนั่นแหละ มันจะเห็นอย่างไรก็ปัญญาเห็น ถ้ามันเกิดจิตมันสงบ มันรวมได้ แสงสว่างมันเกิดขึ้น ปัญญามันฉาย ไปมันก็เห็นละที่นี้ เห็นทางภายในเห็นพวกอาการที่เราสวด อย่างที่เรานับไปตั้งแต่ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ อย่างนี้ไปหมด อย่างที่เราเรามีเส้นทางที่เราเดิน อาการท่านทั้งหมด ระหว่างอาการ สามสิบสอง สามสิบสองนี้ ก็แบ่งสองส่วน แบ่งภาคเป็นสอง คือ เป็นน้ำ ๑๒ แล้วก็เป็นดิน ๒๐ อย่างที่เราเดินไปนั้นก็จะมีทางน้ำด้วย แล้วก็มีดินด้วย อย่างที่เป็นดิน ก็ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก อย่างนั้นแหละ อย่างที่เป็นน้ำ ก็น้ำดี น้ำเสลด น้ำมูก น้ำลาย น้ำเหลือง น้ำเหงื่อ ไคลต่างๆ มี ๑๒ อย่าง ก็เป็นน้ำ

    เหมือนเราเดินทางภายนอก มันก็ไม่ใช่ต่างกัน ลองเราเดินไปที่ไหนหน้าวัด ข้างบริเวณเราเหมือนกัน เราเดินไปเราก็จะไปเจอล่องน้ำบ้าง เจอลำห้วยบ้าง เจอน้ำขังอะไรต่างๆ อย่างนี้ มันก็จะมี เพราะว่ามัน มีเหมือน กับตัวของเราทั้งหมด คือเดินไป มันก็จะข้ามน้ำ จะมีน้ำ อันนี้จิตที่เราเดิน ในตัวในร่างกายนี่ ในมรรค ในทางปฏิบัติ ก็เหมือนกันท่านก็ให้เดินไป ให้ได้กำหนดดู ให้รู้ไป รู้ว่าน้ำมี แต่ของเรามีกำหนด แต่ส่วน โลกภายนอกมันไม่มีประมาณ มันมากเพราะว่ามันเป็นโลก ที่เรียกว่า โลกสากล โลกสากล มันเป็นโลกกว้าง โลกจักรวาลที่อยู่รวมกัน ที่ไม่มีประมาณนั่นแหละ แต่ส่วนที่โลกบุคคล คือโลกบุคคลแต่ละคนนี่ เป็นส่วนเฉพาะ คือมีสัดส่วนเฉพาะตัว อันนี้ท่านให้ กำหนดเอา โลกส่วนบุคคลนี่แหละ คือร่างกายของเรานี่ เป็นส่วนที่จะมาปฏิบัติ เพื่อจะให้รู้ ให้รู้เรื่อง การเดินทาง การกำหนด การที่เราจะกลับมาทบทวนอนุโลม ปฏิโลมอย่างนี้ กลับไปกลับมา เพราะ ว่าให้ความเกี่ยวพันกัน ในการที่ไม่ให้มันหลงทางต้นทางปลายทาง อย่างนี้ เราก็พิจารณา แล้วก็ยังให้เราใช้ปัญญา เป็นแสงสว่าง เป็นประทีปที่จุด ไว้ให้ทางเดินเรา อย่างเราเดินทาง เราเดินกลางคืนอย่างนี้ เราไม่มีแสง พระอาทิตย์ เราก็จุดแสง เทียนแสงประทีบ แสงไฟช่วย ก็อาศัย แสงสว่างและก็จะได้เห็นทาง แต่ว่าจิตจริงๆนี่ มันมันไม่ได้เกี่ยวละที่นี้ มันไม่ได้อาศัย เดินร่างกาย มันเป็นเดินเรื่องจิตเรื่องภายใน มันไม่ได้จุด ไฟมันมีสติ มีแสงสว่างอยู่ในจิต เห็นแต่เพียงว่าเรากำหนด เราเข้าไปถึงที่อย่างนี้ เข้าไปในเขตของความรู้ ที่จิตเรารวม เราตั้งอยู่นั่นแหละ มันก็จะเห็นนะ พอเดินไป ก็ดูไป กำหนดไป คือว่าไปแล้ว ก็ต้องกลับมาดูแล้วก็ออกไปดู

    การทำอยู่อย่างนี้ มันเป็นการทบทวน การหวนคืน เป็นการกลับมา แก้ทางของเรา คือทางที่เราเริ่มต้นอย่างนี้แล้วเราก็ต้องวนกลับแก้ คือ เรื่องที่เราเดิน ร่างกายเดิน ชีวิตก็เหมือนกันละที่นี้ เราก็เดิน วกวนอย่างนั้นแหละ คือการที่เดินมาเกิด เดินมาตายนี่ เป็นการเดินทางไกล อย่างที่ว่าเป็นการใช้ชีวิต ใช้กำลังกรรมแต่ละรูป แต่ละคน เดินกัน ที่ว่าเดินได้ไกลไก้ใกล้ อายุสั้น อายุยาวอย่างนี้ มันก็อยู่ที่กำลัง คือ กำลังบุญด้วย กำลังร่างกายที่เราได้จากกรรม สร้างสม อบรมให้เป็นตัวกำลัง ให้เราเป็นคู่ เพื่อจะมา ทำเอากำลังสติปัญญา กำลังที่จะไปเดินทางภายใน จะไเป็นกำลั งของสมาธิที่จะเดินที่นี้ และถ้าจะขยัน คือความเพียร ต้องขยัน ถ้าไม่มีความเพียร ไม่ขยันแล้วทางม้นก็จะรกร้างไป มันก็จะเศร้าหมองไปได้ เพราะว่าความละเอียดหรือกิเลสต่างๆ นี่มันเป็นอารมณ์

    สิ่งที่มันละเอียด มันไม่เป็นรูป มันมีแต่ความคิด มีแต่ชื่อที่มันดัง ให้เราได้ยินอยุ่ในจิตของเรานั่น มันเป็นชื่อของกิเลส ชื่อของกิเลส ก็คือชื่บาปนั่นแหละ ที่พวกที่ความไม่ดี ความทุกข์ นั่นแหละเป็นชื่อของกิลสละ มันจะดังอยู่แต่ ถ้าเป็นชื่อของบุญของกุศล ของความดีนี้ มันก็จะให้ความสว่าง ให้ความสงบสุข ในจิตของเรา มันก็จะเห็นต่างกันอยู่แต่ถ้ามันเป็นฝ่ายบาป ฝ่ายทุกข์ ฝ่ายกิเลส ฝ่ายชั่ว มันจะมืดดำ มันมองไม่เห็น อย่างเราพิจารณาไปแล้ว เราเดินไปแล้ว มันก็ปิดทางไปด้วย คือมันปิด ปิดไป ไม่ให้มันโล่ง ไม่ให้กว้าง ไม่ให้มันมองเห็น ที่นี้เราก็ไม่มีที่กำหนดได้ เพราะว่ามันไม่มีัเส้น ทางให้เรากำหนดมองดู กำหนดความรู้ ให้มองดู เส้นทาง ดูร่างเราอย่างนี้ เราก็พิจารณาไม่ตลอด อย่างนั้นท่านให้เดิน ตลอดอย่างนี้ จะได้สุดทางที่นี้ จะได้รู้จักต้นทางปลายทาง อย่างที่ว่า ปลายเท้า รากขวัญลง และดูไปแต่เวลาเรายืน มันก็ไม่ได้เป็นรูปทางที่ว่างกับพื้น แต่อย่างเรานอน มันจะเป็นรูปทางที่วางยาว แต่มันก็เป็น การที่เรามีชีวิต เรายืน เรานอน เรานั่ง เราพัก เราอะไร ได้หมด เพราะว่า มันเป้นรูปกรรม ที่กุศลกรรมแต่มาให้แล้ว มันทำได้ ทุกอย่างเผื่อเราจะประกอบจิต เผื่อเราจะทำอะไรให้มันเป็นกรรมดี เป็นการฝึก เป็นการเอื้อทำคุณความดีมา กลับคืนมาแก้ กลับมาแก้กรรม ที่เราได้มาอาศัย ได้มาเดิน

    เหตุที่ว่าเป็นทุนได้ ว่าเป็นต้นทุนที่เป็นธรรมของเราแต่ละคน ว่าเป็น กรรมมัฐฐาน ที่ท่านให้เราเดินทาง เดินปฏิบัติแล้วก็ใช้ความเพียร ขยันมี ความขยันเดิน คือมีความหมั่น ขยันเดิน คือขยันทางจิตของเรา คือเราหมันจิต คือหมั่นเดินหมั่นดู หมั่นกำหนด อะไรอย่างนี้ เราไม่ปล่อยออกมาข้างนอก แต่มันก็ออกมาทำข้างนอกแลกเปลี่ยนกัน อย่างที่ว่าเราต้องทำ เพราะว่า กายกรรม เราต้องอาศัย ถ้าเราจะไปทำแต่ใจ เราก็ไม่ได้เป็นรุป เป็นวัตถุสิ่งของขึ้นมาที่นี้ เราก็ต้องมาทำกายกรรม มาทำข้างนอก นำมาทำกิจ ทำกรรมให้เกิดผลขึ้นมา เกิดรายได้ เกิดทรัพย์สินอย่างนี้ ก็ทำแต่ ส่วนที่ทำข้างในนี่ มันเป็นส่วนทำให้ใจ ทำความดี ความรู้ ทำแสงสว่าง ทำสติปัญญา เอาไปเก็บรักษา เอาไปรวมไว้ที่ใจเราให้มันสงบ แล้ว ที่นี้เราก็ได้ทั้งในและนอกล่ะทีนี้ แล้วเรา ก็เอามาทำ ตามกาล ตามเวลาที่เราจะต้องพัก อย่างข้างนอก ที่เรียก ว่ากายกรรมนี่เราก็ลำบาก เราก็ทุกข์ข้างนอกมาก แต่ถ้าเราต้องการความสงบสุข เราก็หยุดนิ่ง นั่งสมาธิ เอาเข้าไปพักไปอยู่ ไปเดินทางใน ไปหลบ ไปสงบ ไปอยู่ในสมาธิ ก็อยู่ในความสงบ นั่นแหละ ไปอยู่ในที่นิ่ง คือ เป็นที่ไม่ให้มีการกระทบอะไร กับอารมณ์ ภายนอก เราก็ไปกำหนด ไปภาวนา ไปดูจิต ดูสติ ดูเฉพาะ แล้วก็พิจารณา ดูภายในร่างกายเฉพาะแล้ว ก็เดินปัญญาอยู่ภายใน เดินในไม่ใช่ เดินนอกตัวเราทีนี้ ที่เราเดินไปส่วน ในรูปอย่างที่เรา เดินในกัมมัฏฐาน เรานับอาการอย่างนี้

    ฉะนั้นเราเดินนับไป แต่ถ้าเราจะนิ่ง เราก็นับไปละทีนี้ เราอยู่กับที่ ถ้าเรา เห็นเราเกิดความเห็น ด้วยจิต ด้วยปัญญาอย่างนี้ เราก็จะได้รู้ว่า จิตเรามีความสว่าง มีความรู้เห็นภายใน คือไม่ใช่เรานึกดู แต่มันเห็น รู้ด้วยความสว่าง ด้วยปัญญาของจิตของเราเอง ถ้ามันเห็นไป มันเห็นไป ภายในที่เป็นส่วนลึก อย่างนี้ ก็ถือว่า มันเป็นสิ่ง ให้เราเห็น เห็นสถานที่ เห็นความเป็นอยู่ เห็นลักษณะ อย่างที่ว่า กระดูก เนื้อ หนัง เอ็นต่างๆ อย่างนี้ ถ้ามันเห็นมันก็เป็นความรู้ ที่เกิดมาจากปัญญา เกิดมาจากวิปัสสนา ความเห็นภายในจิตใจของเรา ได้ฝัก ได้รวม ขัดเกลา ให้เกิด ความสว่างขึ้นมาได้ เกิดความผ่องใสขึ้นมาเพราะมันเห็น เพราะมันเห็น อย่างนั้นมันเห็นเพื่อให้ เราได้จิตสงบ ทีนี้ ให้จิตได้หยุดนิ่ง เพราะว่า มันเห็นสภาพความเป็นจริง สภาพความที่ว่ามันปิดบัง คือการเห้นมัน ก็เป็นการลดละ เป็นการคืน คายความหลง ความรัก ที่เราเคยมีมาแต่เกิด แต่มันไม่ใช่ได้เห็นตามสัญญาที่ เราท่องและจำล่ะทีนี้ ถ้าไม่ได้เอาสัญญา ไปเป็นเครื่องดุ มันเห็นด้วยปัญญา เห็นตามสภาวะ ตามสภาพที่อยู่ หรือสัณฐาน สีสันอะไรต่างๆ นี้ พอเห็น ตามนั้น จิตมันก็รู้ ทีนี้

    แต่ว่าเราเห็นภายนอกมันต่างกัน ที่นี้ มันคนละชั้น ทีนี้แต่ถ้าเห็น ภายนอก นี่มันหลอกมันลวงเราได้ เพราะว่ามันสะท้อนไกล มันไม่ได้รวม ไม่ได้กระทัดรัด เฉพาะจิต เฉพาะปัญญา แต่ถ้ามันเห็นเฉพาะจิตภายใน แล้วมันไม่ได้ สะท้อนไปไกล ความรู้มัน เข้ารวมรัดกุมเข้าภายในล่ะทีนี้ อย่างนั้น ถ้ามันเห็นด้วย ปัญญา อย่างนั้นมันก็แก้สัญญาได้ เวลามันออกข้างนอก มัน ก็มาเห็นรูป เห็นร่าง สัตว์อื่นอย่างนี้ มันก็แก้สัญญาได้ ทีนี้

    อย่างนั้นการพิจารณา การใคร่ครวญ การที่ใช้ปัญญา โยนิโสมนัสสิการ อยู่ในกายประจำ มันเป็นการักษาจิต รักษาสมาธิ รักษาความสงบ เช่นการลดราคะ ความกำหนัดออกได้ในที่นี้ เราก็แก้กายได้ที่นี้ อย่างนั้น ในหลักของพระสังฆคุณ ในข้อต้นนี้ นั้นก็เป็นเรื่องเกี่ยวกับที่ข้อ ปฎิบัติเบื้องต้น เกี่ยวกับสุปฎิปันโน บุคคล คือผู้ที่ปฏิบัติดี คือผู้ที่มีร่างกายประกอบไปด้วยศีล ด้วยสมาธิ ด้วยปัญญา คือปฏิบัตดี ตามหลักมรรค หลักธรรม หลักกัมมัฏฐาน ทีเรียกว่าสุปิฏิปันโน นั่นแหละ ที่เราสวดกันว่า มันเป็นสาวก มิใช่เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ที่ได้รับแสงสว่าง ได้รับธรรมส่องเข้าไปถึงใจ ถึงว่า สุปฏิปันโน ทุกคน เป็นพระอริยบุคคลขึ้นต้น ท่านเข้าไปถึง ทางเข้าไปถึงทางในใจ ทางในกาย แล้วท่านเดินด้วยความสงบสุข คือมีจิต มีศีล คือ เป็นผู้ที่ไม่ล่วงเกิน ไม่ทำบาปแล้ว เขารู้จัก รักษากาย รักษากรรม รักษาเส้นทางเดินของตัวเอง อย่างว่าสุปฏิปันโน เป็นสาวกของ พระพุทธเจ้า ในบทแรก

    แต่ไม่ใช่ว่า ผู้ที่ปฏิบัติไม่ดี เรียกว่าผู้ที่ทำชั่วอย่างนี้ สุปฎิปันโน คือทำบาป อย่างนี้ ทำชั่วอย่างนี้ แต่ว่าผู้ปฎิบัติดีใช่ว่าทำความสุข ทำความสงบ แล้วก็ ็มีศีลประคับประคอง ตัวอย่างนี้ถึงเรียกว่า สุปฎิปันโน ผู้ปฎิบัติดีอย่างนี้ มีศีล มีสมาธิมีปัญญา กำกับตัวร่างกายอยู่ เดินทางอยู่ด้วยสติปัญญาล่ะทีนี้ ไม่ได้ทำบาป เอาความชั่ว เอาทุกข์มาใส่ตัว ใส่จิตของตัวเอง ไม่ได้ให้มีอารมณ์ ที่เป็นบาปมาเดิน มาคิด แล้วก็นำตัวนั้นปฎิบัติอยู่

    ในทางที่ว่าสุปฎิปันโนบุคคล แล้วก็มีที่อยู่ มีที่สงบ มีความรู้ เป็นหลักอย่างนี้ หรือว่าเป็นพระสงฆ์ หรือว่าเป็นพระสงฆ์สาวกอย่างนี้ เป็นผู้ได้รับแสงสว่าง จากพระธรรม คำสอนของพระพุทธเจ้า คือได้แสงสว่างจากพระธรรม คือ การทำการได้สดับ คำสอนของพระพุทธองค์ แล้วตัวเองก็ปฏิบัติ แล้วก็เดินทาง ตามที่ท่านสอนไว้ เดินมรรค เดินกายของตัวเองแล้วก็เดินเข้า เดินออก เดินรักษาอยู่ตลอด แล้วเราก็เห็น อะไรที่มันไม่ดีที่มันเป็นทางผิด ทางหลง อย่างนี้ เราก็หลีกไปเราไม่หลงไปทางผิด ทางมืด ทางทุกข์ ทางชั่ว เราก็หลีกไป นี่ก็เรียกว่าเป็นสาวก เป็นสาวิกา ถ้าเป็นผู้หญิง ก็เรียกว่าสาวิกา เป็นผู้ ที่ได้รับมีแสงสว่าง ได้มีจิต ได้แสงสว่าง จากธรรม จากการปฏิบัติล่ะทีนี้ ไม่เป็นจิตมืดจิตบอด สงบ รู้จักบาป รู้จักบุญ ในจิตของ ตัวเองในร่างกาย ของตัวเองแหละทีนี้มันรู้ คือรู้ส่วนบุคคลละทีนี้ ส่วนตัว ส่วนร่างกาย ของเราแต่เราก็ดู เดินดูเดินตรวจเดินรอบ เดินเป็นประจำอย่างนี้ เรา ไม่ได้ปล่อยให้มันหลง ทางไม่ได้รกรุงรังอะไรอย่างนี้เราเดินอยู่นอกจากเวลาเราหลับอย่างนี้ เวลาเรา หลับเราสงบไปตามธรรมชาติ เราก็กำหนดไป พอเราตื่นมีสติ เราก็กำ หนดเราก็เดินไป แล้วก็กลับคืนมาอย่างนี้ เดินไป เดินมา ถ้าเราไม่ได้เดิน ไปนอกเขต นอกตัวของเราทีนี้ ไม่ใช่เดินอย่างภายนอกอย่างที่ว่า เราเดินไปโลกสากล โลกจักรวาล ฉะนั้นมันไม่มีขอบเขต ไม่มีกำหนดล่ะทีนี้ ถ้าเราไปเดินทางโลก

    แต่ถ้าเราเดินไปทางธรรม ทางกลับคืนมา ทบทวนมาหาร่างกายหาจิตของเรา มันเป็นทางสงบ เป็นทางที่กระทัดรัด รัดกุมตัวเอง ไม่ให้หลงทางไปไกล ไปนอกสถานที่ ของเราอย่างนี้ พอเดิน ด้วยมรรค ด้วยศีล สมาธิปัญญาอยุ่นี่ เราก็ดูทาง ดุที่ ของเรา ดุความสงบ ดูความผ่องใสอขงเราอย่างนี้ มันดูได้ตั้งแต่อาศัยเดินไม่ขาด เดินไม่หยุด เดินตลอดอย่างนี้ อย่างนั้น ไม่ใช่ว่าเราเดิน เราเหนื่อยเราก็หยุด ทิ้งไปอย่างนี้นานๆ คิดขึ้นมา มันจนมันลบรอยอย่างนี้ เราจะเดินมันก็หายไป มันไม่ต่อเนื่องกันอย่างนี้ ก็ไม่ได้ อย่างนั้นการที่เดินให้มันเป้นทางราบรื่น เป็นทางที่ไม่มัวหมองอย่างนี้ เราก็เดิน ตลอด เดินประจำ มันก็ทำให้ เราได้รักษา ได้เห็นอยู่ ทีนี้ จนตลอดชีวิตนั่นแหละ ถ้าเราเดินไม่สุด อีก อย่างนี้ เราก็ต้องต่อเส้นทางอย่างนี้ อย่างคนที่ไปเกิดชาติใหม่ ก็ไปต่อเส้นทางใหม่ คือไปต่อเอาร่างกายใหม่ ไปเกิดเอา รูปใหม่ชาติใหม่อย่างนี้ มันก็ก็ไม่ต่อล่ะทีนี้ แต่ถ้าไปต่อ เราไม่มีทุน ไม่มีบุญ ไม่มีกำลังใจ อย่างนี้ เราก็ไม่มีสมบัติ ไม่มีแรงไปเดินต่อ อย่างนั้นก็อย่างที่เรายังต้องเดินต่อ พอเราเดินหลงไป ผิดไป อย่างนี้เราไม่กลับคืนมา แต่อย่างพระ พูทธเจ้า พระสาวก ท่านก็ไม่ได้เดินไปต่อ ท่านกลับคืนมา ที่นี้ กลับคืนมาหาต้นทาง ท่าน ก็หยุดไม่ต้องเดิน ไม่ต้องไป ต่อเส้นทางล่ะทีนี้ เพราะว่าท่าน กลับคืนมาหาต้นทางแล้ว อย่างที่ว่า อนุโลมอย่างนี้ คือปฏิโลม อนุโลมอย่างนี้ คือการกลับคืนเรียกว่า อนุโลม ถ้าปฏิโลม คือปฏิบัติต่อไป มันเป็น การปฏิบัติคนละเส้นทาง อย่างที่ว่าปลายทาง ต้นทาง มันกลับคืนมาอย่างนี้ ก็คืนมาหาต้ว หาจิต หาความสงบ หาความรู้ ที่มีอยู่กับที่ ก็เดินไปก็ไป เพื่อไปมองไกล ไปดู จะได้รู้ จะได้รู้ก็กลับ คืนมาดูต้นทางที่เราออกไปอย่างนี้ เราก็ได้เห็น

    ฉะนั้นความรู้ความเห็นต่างๆที่เราได้จากการเดินการปฏิบัติการเดินตามมรรค ตามศีล สมาธิ ปัญญานี่ เราก็จะ ได้ เห็นขึ้นมาทางจิตของเราล่ะทีนี้ พอเราเดินมาก เราขยัน เราทำให้ผ่องใส ให้มีแสงสว่าง มีสติปัญญา กล้าขึ้นมา มันเห็น พอมันเห็น มันก็จะได้ดูด้วยปัญญาชัดเจนขึ้น แล้วทีนี้มันเห็นชัดเจน ความลังเล สงสัย ความเคลือบแคลงอะไร มันก็หายไป อย่างนั้น ในขั้นต้น ทางจึงแก้ท่านละ พวกกายะสักายทิฐิ คือไปเดิน ไปดูกาย ไปรู้กาย ไปแก้กาย ของตัวเองได้ อย่างที่ว่า สักกายทิฐิแล้วไม่ ไม่ถือ ไม่ได้ถือกายล่ะ ถือก็แต่ว่าเป็นธรรม เป็นเครื่องทำคุณ ทำประโยชน์เป็นรูป ศีล รุปที่เราจะต้องเคารพ ปฏิบัติ รักษาอย่างนี้ ไม่ได้ ถือไปตามกิเลสว่า เอาไปเล่นอะไร ไปสนุก ไปเพลิดเพลิน ไปกินอิ่ม สนุกสนาน บำรุง บำเรอ ไปตามรุปร่างอย่างที่มีตา มีหู จมูก ลิ้น กาย อย่างนี้ ก็บำรุงไปตามความอยาก ความหิว ไม่ได้เป็นอย่างนั้น เพราะรู้แล้ว คือห้ามได้ หยุดได้ ละได้ ไม่ได้ถือ แล้ว กิเลสที่มัน เกาะกายมันก็ไม่มี ด้วย สักกายทิฐิ ความที่ไม่ถือ ไม่มี วิกิจฉา ความลังเล สงสัย ในดี ในชั่วสุข ทุกข์ บุญ บาป มันไม่มี เพราะว่ามันไม่ใช่จิต ละทีนี้ มันเป็นเรื่องของเวทนา ของส่วนที่มันเกิดมากับร่างกาย ซึ่งเป็นตัวรูปที่อาศัย อยู่แล้วก็ความลังเล ในข้อปฏิบัติ ในวัตร ในศีล อะไรต่างๆ เรื่องมัวหมอง เรื่องบริสุทธิ์ อะไร ก็ไม่มี เพราะว่าจิตรู้ จิตรักษาเอง เดินไปถึงด้วยจิตของเราเอง ล่ะทีนี้ มันก็เป็น สุปฏิปันโน เป็นขั้น ต้นของการเดินมรรค เป็นทางภาวนา ทางเข้าไปสงบจิต มรรค ก็หมายถึงใจ ถึงมโนถึงจิต ซึ่งเป็นตัวเดิน ตัวรู้ ตัวกำหนด ที่จะให้เข้าสู่ความสงบได้

    เวลาออกมาเที่ยว มาดู ธรรมดาอย่างนี้ก็ได้ เราก็ดู เราก็ต้อง รู้ด้วยว่าถ้ามันมีอาการ มีกิริยาอยุ่ ก็ถือว่ามันไม่ใช่ลิเก ละได้ ถ้ามันมีอาการ ถ้าไม่มีอะไร ที่มีเชื้อมีอะไรที่แสดงออกอย่างนี้ ก็ถือว่ามันบอกเราว่ามี อย่างที่ว่าตัวเราเองนี่ ถ้าเกิดว่าเกิดมี สิ่งที่มากระทบความโลภเกิดขึ้น ความโกรธเกิดขึ้น ความหลงเกิดขึ้น ให้ถือว่านั้นมัน ก็ยังแก้ไม่ได้มันละ ไม่ได้ มันยังต้องติดอยู่ กระทบผิดเป็นเรื่องเป็นราวกันอยู่อย่างนี้ เรียกว่าเราเดินมรรค แต่ว่าเรายังไม่รู้จักทางถูก เรายังเดินทางผิดอยู่ ความเห็นของจิต ก็ยังผิดอยู่ คือเห็นผิดเป็นถูก เห็นถูกเป็นผิดแล้วก็เป็นมิจฉทิฐิ ล่ะทีนี้ เราเป็นฝ่ายทำบาป ทางผิด ทางหลงล่ะทีนี้คือเห็นผิดเป็นถูก คือเห็นชั่วเป็นดี เห็นดีเป็นชั่ว เห็นศีล สมาธิ ปัญญา เป็นของไม่ดี เห้นพวกกิเลส พวกโลภ โกรธหลง เป็นของดีอย่างนี้ เราเห็นตัวเป็นของดี เห็นธรรมเป็นของไม่ดี เป็นของลำบากเป็นของ ขัดกับกิเลสอย่างนี้ มันก็เห็นผิดทีนี้ จึงว่าเห็นผิด เห็นชั่วเป็นดี เห็นดีเป็นชั่วอย่างที่ว่า เห็นบาปเป็นของดี เห็นบุญ เห็นความสงบสุขไม่ดี อย่างนี้ล่ะทีนี้ มันเป็นความเห็นผิดของจิต จึงไม่ใช่ว่ามันตรงตามเหตุ ตามบุญ ตามบาป ที่เป็นไปตามผลของบุญบาปล่ะทีนี้ จิตที่มันผิด มันหลง เลยเห็นไป อย่างที่ตัวเราอย่างนี้ ไม่ได้เห็นว่ามันเป็นของสกปรก เป็นของ ผุพัง เป็นของไม่เที่ยง มันเป็นทุกข์ เป็นของที่เราตกแต่ง มันไม่ได้อย่างนี้ มันก็ไม่ได้เห็น อย่างนั้น มันก็เห็นว่าเป็นของเรา ที่เราต้องตกแต่งทำให้เป็นไปตามความถือนี่ อย่างทีเราตกแต่ง ให้มันมีสีสัน ให้มันมีความทุกข์เกิดขึ้นไม่ให้มี อะไรมัวหมอง ในผิวพรรณอย่างนี้ มันก็ไม่ได้ เพราะว่าของมันเป็นสภาพที่ มันเป็นของสกปรก ของที่มีสิ่งที่ห่อหุ้มไว้อยู่

    อย่างที่ภายในอย่างนี้ เราไปเก็บ ไปกลืน ไปกิน รักษาไว้ ห่อหุ้มไว้ อย่างนี้ อย่างที่ว่า หนังก็ยังห่อหุ้มมีหนัง หุ้มอยู่ เป็นที่สุดรอบ เราก็ต้องสวดกัน มันห่อหุ้มหมดนั่นแหละ เวลามันออกมา เวลามันกระทบกระเทือนอย่างนี้ ร้อน มันร้อน เหงื่อเราก็ออกมา มันก็ซึมออกมาตามผิวขน อะไรอย่างนี้ มันอยู่ไม่ได้ เพราะว่ามันข้างใน มันไม่นิ่ง มันกระทบ กระเทือน มันร้อนแผด เผาอะไรต่างๆอย่างนี้ มันก็ออกมา อย่างเรามีหนังห่อหุ้มอยู่ แต่มันก็ยังซึมออกมา มันก็เป็นของให้เราเห็นอยู่ แต่ความที่เราเคยหลง ผิดมาหลายภพหลายชาติ เราไม่เห็น เพราะไม่ใช้ปัญญา มันเป็นสัญญา ที่เราท่อง เราจำ เราสวดไป มันก็ชินเคยไป แต่มันไม่เห็นด้วย วิปัสสนาจริงๆ ถ้ามันเห็น เราต้องด ูว่าเราต้องเอาธรรมมาวัด เวลามันไปกระทบไปเห็น ตามรูป บางครั้ง บางคราว ถ้ามันยังไม่เป็นอยู่ มันก็ถือว่า มันเป็นความหลอก เป็นสัญญาณ หลอกเรา คือ มันหลอก แต่ว่าเราก็ท่อง เราจำได้ แต่เวลาไปเห็น เกิดสติไม่ทันเขา มันก็ไป เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างที่ว่ามันสวย มันงาม มันสีสัน มันอะไรก็ว่าไป แต่มันไม่เป็นอย่างนั้นล่ะทีนี้ สภาพของมัน มันไม่เป็นอย่างนั้น มันก็เป็นอย่างที่ว่า มันห่อหุ้มสิ่งที่มีรส ความสกปรก มีกลิ่น อะไรมันก็มีอยู่ในนั้นทั้งหมด เราก็รุ้จักล่ะทีนี้ รู้จักว่า เราทำอยู่ เราได้ติดตัว กันอยู่ทุกคน ก็เห็นถึงเอาไปไว้ มันก็ซึม ก็ไหลออก

    ฉะนั้นมันเป็นสิ่งที่มันบังตาของเรา แต่ว่าส่วนปัญญา ส่วนความรู้ ที่เรา เที่ยวเข้าไป เราส่อง เรากำหนด เราพิจารณา มันถึงจะส่องไปเห็นทีนี้ มันเห็น พอมันเห็นแล้วทีนี้ มันก็จะได้รู้กัน ความคิดหลง ความเห็นผิดอย่างนี้ อย่างที่ว่า พวกวิจิกิจฉา สีลพัตตปรามาส มันหลง เราก็ลูบคลำ คือว่าสงสัยอย่างนี้ หรือว่ามันเป็นสิ่งที่ทำให้หลอกตาเรา คือ หลอกจิต หลอกความรู้เราอย่างนี้ เราเคยติดตามมา มันเป็นเส้นทางที่ยาวมา อย่างที่ว่าร่างกายของเรานี่ ไม่ใช่ว่า เฉพาะช่วงชีวิตเราชาตินี้ แล้วข้างหลัง อีกกี่ท่อนทีมันตายขาดกันมา มันมาก ต่อมากล่ะทีนี้ เราก็เดินทางต่อมา หลงมาละทีนี้

    ฉะนั้นการที่เราภาวนา การกำหนด น้อมกลับคืน อนุโลม เพื่อจะให้มันสงบ เพื่อให้มันนิ่ง ไม่ให้มันดิ้น มันเดิน หลงไปต่อ แล้วก็เป็นผู้ที่คืนมาสู่ความสงบ สู่ใจของเรา สู่ที่มีความรู้ มีแสงสว่าง ที่เราฝึก เราสร้างสมอบรม เราเอามารวมไว้ที่จิตของเราไม่ให้มันหลงไป เราก็รุ้ แต่ถ้าหลงไป ก็อย่าง ที่เราหลงมา การไป มันเป็นอันเดียว เส้นทางต่อกน เหมือนทางเดินเรา เหมือนจงกรมเราอย่างนี้ เงื่อนเส้นทางมันก็ไม่มีหัวมีท้าย คือ มันจะมีสุด ทั้งสองข้าง อันนี้ ก็เหมือนกับความหลง ที่เราหลงไปหลงมาเหมือนกัน ก็หลงใกล้ๆ หลงร่างกายของเรา คือ เราต้องมาเดิน มาควบคุมตรงนี้ มาดู ความสงบ ละเอียด ความนิ่ง ความเพียร ต้องมาควบคุมเส้นทางของเราอย่างที่เราเอาเดินจงกรมบ้าง

    อย่างที่เราเอานั่ง เอานอน เอายืน กำหนดดูบ้าง อะไรก็ต้องอนุโลม กลับมาดู คือมาดูทาง ดูที่ของเราตลอดนั่นแหละ นี่เป็นผู้ไม่ประมาท ท่านว่า เป็น ผู้เจริญรอยตามพุทธบาท ตามหลักสติปัฏฐาน ๔ แล้วก็เป็น ผู้ปฏิบัติที่ดี ตามหลัก สุปฎิปันโนบุคคล แล้วก็เป็นนาถะ เป็นที่พึ่งของตน แล้วก็เป็นที่พึ่งของโลกด้วย อย่างนั้นท่านก็สอนว่า พระสงฆ์ เป็นเนื้อนาบุญของโลก คือการปฎิบัติร่าง กายของเรานั้น เป็นนาบุญของเราทุกคน คือเจ้าของ ของเรา เป็นเจ้าของ ที่จะได้รับผลคนแรกนั่นแหละ เรียกว่านาบุญ คือเจ้าของนา ก็คือเจ้า ของนานั่นแหละ เป็นผู้จะได้รับข้าวรับของที่ได้รับ ผลขึ้นมา แต่ส่วนคนอื่น ที่เขาจะได้ส่วนรับ ส่วนแบ่ง มันก็ต่อเนื่องกันไปถึงว่า เป็นการเดินมรรค เดินทาง เดินที่ปกิบัติ เรียกว่าเป็น สังฆคุณ เป็นคุณของพระสงฆ์ เป็นองค์มรรคข้อต้นด้วย ที่จะทำให้เราเข้ามรรค เข้าเส้นทางได้ ก็เข้ากับความเป็นศรัทธา ความเพียร มีความเชื่อมั่น ในการเดินทาง จิตของเรา คือเราจะต้องมีแรงเดิน จะต้องฝึก จะต้องบำรุงจิตของเราให้มีแรงเดิน เรียกว่ามีศรัทธา และมีความเพียร ความขยัน ในการนึกการกำหนดตลอด มีสติ ระลึกรู้ ควบคุมอยู่ตลอด สติก็มีขึ้น สมาธิ ความสงบที่เกิดขึ้นจากความเพียร ความดู อยู่ขยัน ของตัวเองก็เกิดขึ้น ปัญญาความรู้ ความรอบรู้ก็เกิดขึ้น มีพละ ซึ่งเป็นกำลังที่จะเป็นแรงปฏิบัติ แรงรักษาเส้นทาง รักษาตัว รักษามรรค ของร่างกายตัวเอง ได้อย่างนี้ ตลอด เรียกว่า เป็นผู้เดินทางตามทางธรรม
     

แชร์หน้านี้

Loading...