หลวงปู่ฝากไว้ ( Gifts He Left Behind )

ในห้อง 'ทวีป อเมริกา' ตั้งกระทู้โดย paang, 12 เมษายน 2008.

  1. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    หลวงปู่ฝากไว้ ( Gifts He Left Behind )

    บันทึกคติธรรมและธรรมเทศนา ของหลวงปู่ดุลย์ อุตโล ภาคภาษาไทย/อังกฤษ



    [​IMG]
     
  2. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    [​IMG]


    [​IMG]



    พระราชวรคุณ (สมศักดิ์ ปัณฑิโต) ผู้รวบรวมและบันทึก
    Phra Bhavana Vidhanapreecha (Geoffrey DeGraff) ผู้แปล​
     
  3. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    [​IMG]

    [​IMG]
     
  4. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    [​IMG]
    [​IMG]
     
  5. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    [​IMG]
    [​IMG]
     
  6. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    [​IMG]

    <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo-->

    [​IMG]
     
  7. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    [​IMG]
    <!--emo&:54:-->
    [​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]
    <!--endemo-->

    [​IMG]
     
  8. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    [​IMG]

    <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo-->​

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 เมษายน 2008
  9. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    [​IMG]

    <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--><!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo-->


    [​IMG]
     
  10. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    [​IMG]

    <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:54:-->[​IMG]<!--endemo-->

    [​IMG]
     
  11. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    จริง แต่ไม่จริง

    ผู้ปฏิบัติกัมมัฏฐาน ทำสมาธิภาวนา เมื่อปรากฎผลออกมาในแบบต่างๆ ย่อมเกิดความสงสัยขึ้นเป็นธรรมดา เช่น เห็นนิมิตในรูปแบบที่ไม่ตรงกันบ้าง ปรากฎในอวัยวะของตนเองบ้าง ส่วนมากมากราบเรียนหลวงปู่เพื่อให้ช่วยแก้ไข หรือแนะอุบายปฏิบัติต่อไปอีก มีจำนวนมากที่ถามว่า ภาวนาแล้วก็เห็น นรก สรรรค์ วิมาน เทวดา หรือไม่ก็เป็นองค์พระพุทธรูปปรากฎอยู่ในตัวเรา สิ่งที่เห็นเหล่านี้เป็นจริงหรือ ฯ

    หลวงปู่บอกว่า

    "ที่เห็นนั้น เขาเห็นจริง แต่สิ่งที่ถูกเห็น ไม่จริง"



    <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo-->


    real, but not for real

    It
     
  12. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    แนะวิธีละนิมิต

    ถามหลวงปู่ต่อมาอีกว่า นิมิตทั้งหลายแหล่ หลวงปู่บอกยังเป็นของภายนอกทั้งหมด จะเอามาทำอะไรยังไม่ได้ ถ้าติดอยู่ในนิมิตนั้นก็ยังอยู่แค่นั้น ไม่ก้าวต่อไปอีก จะเป็นด้วยเหตุที่กระผมอยู่ในนิมิตนี้มานานหรืออย่างไร จึงหลีกไม่พ้น นั่งภาวนาทีไร พอจิตจะรวมสงบก็เข้าถึงภาวะนั้นทันที่ หลวงปู่โปรดได้แนะนำวิธีละนิมิตด้วยว่า ทำอย่างไรจึงจะได้ผล

    หลวงปู่ตอบว่า

    เออ นิมิตบางอย่างมันก็สนุกดี น่าเพลิดเพลินอยู่หรอก แต่ถ้าติดอยู่แค่นั้นมันก็เสียเวลาเปล่า วิธีละได้ง่ายๆก็คือ อย่าไปดูสิ่งที่ถูกเห็นเหล่านั้น "ให้ดูผู้เห็น แล้วสิ่งที่ไม่อยากเห็นนั้นก็จะหายไปเอง"


    <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo-->


    Letting go of visions

    The questioner might then ask, "You say that all these visions are external, and that I can't yet put them to any use; if I stay stuck simply on the vision I won't make any further progress. Is it because I've been staying so long with these visions that I can't avoid them? Every time I sit down to meditate, as soon as the mind gathers together it goes straight to that level. Can you give me some advice on how to let go of visions in an effective way?"

    Luang Pu would respond,

    "Oh, some of these visions can be lots of fun and really absorbing, you know, but if you stay stuck right there it's a waste of time. A really simple method for letting go of them is not to look at what you see in the vision, but to look at what's doing the seeing. Then the things you don't want to see will disappear on their own."
     
  13. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    เป็นของภายนอก

    เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๒๔ หลวงปู่อยู่ในงานประจำปี วัดธรรมมงคล สุขุมวิท กรุงเทพฯ มีแม่ชีพราหมณ์หลายคนจากวิทยาลัยครูพากันเข้าไปถาม ทำนองรายงานผลของการปฏิบัติวิปัสสนาให้หลวงปู่ฟังว่า เขานั่งวิปัสสนาจิตสงบแล้ว เห็นองค์พระพุทธรูปในหัวใจของเขา บางคนว่า ได้เห็นสวรรค์เห็นวิมานของตนเองบ้าง บางคนว่าเห็นพระจุฬามณีเจดีย์สถานบ้าง พร้อมทั้งภูมิใจว่าเขาวาสนาดี ทำวิปัสสนาได้สำเร็จ

    หลวงปู่อธิบายว่า

    "สิ่งที่ปรากฎเห็นทั้งหมดนั้น ยังเป็นของภายนอกทั้งสิ้นจะนำเอามาเป็นสาระที่พึ่งอะไรยังไม่ได้หรอก."



    <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo-->


    External things

    On December 10, 1981, Luang Pu participated in the annual celebration at Wat Dhammamongkon on Sukhumvit Road in Bangkok. A large number of temporarily ordained women from a nearby teachers' college came to discuss the results of their vipassana practice, telling him that when their minds settled down they would see a Buddha image in their hearts. Some of them said that they saw the heavenly mansions awaiting them in heaven. Some saw the Culamani Stupa [a memorial to a relic of the Buddha kept in heaven. They all seemed very proud of their success in their practice of vipassana.

    Luang Pu said,

    "All the things that appeared for you to see are still external. You can't take them as a substantial refuge at all."
     
  14. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    หยุดเพื่อรู้

    เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๐๗ มีพระสงฆ์หลายรูป ทั้งฝ่ายปริยัติและฝ่ายปฏิบัติได้เข้ากราบหลวงปู่เพื่อรับโอวาทและรับฟังการแนะแนวทางธรรมะที่จะพากันออกเผยแผ่ธรรมทูตครั้งแรก หลวงปู่แนะวิธีอธิบายธรรมะขั้นปรมัตถ์ ทั้งสอนผู้อื่นและเพื่อปฏิบัติตนเอง ให้เข้าถึงสัจจธรรมนั้นด้วย ลงท้ายหลวงปู่ได้กล่าวปรัชญาธรรมไว้ให้คิดด้วยว่า

    คิดเท่าไรก็ไม่รู้ ต่อเมื่อหยุดคิดได้จึงรู้ แต่ต้องอาศัยความคิดนั้นแหละจึงรู้



    <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo-->


    Stopping to know

    In March, 1964, a large number of scholarly and meditating monks — the first group of "Dhamma Missionaries" — came to pay their respects to Luang Pu and to ask for teachings and advice that they could use in their work of spreading the Dhamma. Luang Pu taught them Dhamma on the ultimate level, both for them to teach others and for them to put into practice themselves so as to reach that level of truth. In conclusion, he gave them a piece of wisdom for them to take and contemplate:

    "No matter how much you think, you won't know.
    Only when you stop thinking will you know.
    But still, you have to depend on thinking so as to know."
     
  15. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    ทั้งส่งเสริมทั้งทำลาย

    กาลครั้งนั้น หลวงปู่ได้ให้โอวาทเตือนพระธรรมทูตครั้งแรกมีใจความตอนหนึ่งว่า

    "ท่านทั้งหลาย การที่จะออกจาริกไปเพื่อเผยแผ่ ประกาศพระศาสนานั้น เป็นได้ทั้งส่งเสริมศาสนาและทำลายพระศาสนาที่ว่าเช่นนี้เพราะองค์ธรรมทูตนั่นแหละตัวสำคัญ คือ เมื่อไปแล้วประพฤติตัวเหมาะสม มีสมณสัญญาจริยาวัตร งดงามตามสมณวิสัยผู้ที่ได้พบเห็น หากยังไม่เลื่อมใส ก็จะเกิดความเลื่อมใสขึ้น ส่วนผู้ที่เลื่อมใสแล้ว ก็ยิ่งเพิ่มความเลื่อมใสมากขึ้นเข้าไปอีกฯ ส่วนองค์ที่มีความประพฤติและวางตัวตรงกันข้ามนี้ ย่อมทำลายผู้ที่เลื่อมใสแล้วให้ถอยศรัทธาลง สำหรับผู้ที่ยังไม่เลื่อมใสเลย ก็ยิ่งถอยห่างออกไปอีก จึงขอให้ทุกท่านจงเป็นผู้พร้อมไปด้วยความรู้และความประพฤติ ไม่ประมาท สอนเขาอย่างไร ตนเองต้องทำอย่างนั้นให้ได้เป็นตัวอย่างด้วย"



    <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo-->


    Advancement or destruction

    On that occasion, Luang Pu gave an admonition to the Dhamma missionaries, at one point saying,

    "When you go out to disseminate and proclaim the Buddha's teachings, it can either lead to the advancement of the religion or to its destruction. The reason I say this is because the person of each Dhamma missionary is the determining factor.

    If, when you go, you behave in an appropriate way, keeping in mind the fact that you're a contemplative, with manners and behavior corresponding with what's proper for a contemplative, those who see you, if they don't yet have faith, will give rise to faith. As for those who already have faith, your behavior will increase their faith.

    But as for the missionaries who behave in the opposite fashion, it will destroy the faith of those who have faith, and will drive those who don't yet have faith even further away.

    So I ask that you be consummate both in your knowledge and your behavior. Don't be heedless or complacent. Whatever you teach people to do, you yourself should also do as an example for them."
     
  16. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    เมื่อถึงปรมัตถ์แล้วไม่ต้องการ

    ก่อนเข้าพรรษาปี ๒๔๘๖ หลวงพ่อเถาะ ซึ่งเป็นญาติของหลวงปู่ และบวชเมื่อวัยชราแล้ว ได้ออกธุดงค์ติดตามท่านอาจารย์เทสก์ ท่านอาจารย์สาม ไปอยู่จังหวัดพังงาหลายปี กลับมาเยี่ยมนมัสการหลวงปู่ เพื่อศึกษาข้อปฏิบัติทางกัมมัฎฐานต่อไปอีกจนเป็นที่พอใจแล้ว หลวงพ่อเถาะพูดตามประสาความคุ้นเคยว่า หลวงปู่สร้างโบสถ์ ศาลาได้ใหญ่โตสวยงามอย่างนี้ คงได้บุญได้กุศลอย่างใหญ่โตทีเดียว ฯ

    หลวงปู่กล่าวว่า

    "ที่เราสร้างนี่ก็สร้างเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ประโยชน์สำหรับโลก สำหรับวัดวาศาสนาเท่านั้นแหละ ถ้าพูดถึงเอาบุญเราจะมาเอาบุญอะไรอย่างนี้."


    <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo-->


    On the ultimate level there's no desire

    Before the Rains retreat in 1953, Luang Phaw Thaw, a relative of Luang Pu's who had ordained late in life, returned from many years of wandering with Ajaan Thate and Ajaan Saam in Phang-nga province to pay his respects to Luang Pu and to learn more about meditation practice. He spoke with Luang Pu on familiar terms, saying, "Now that you've built an ordination hall and this large, beautiful meeting hall, you've probably reaped a really huge amount of merit."

    Luang Pu replied,

    "What I built was built for the general good, the good of the world, of the monastery, and of the religion, that's all. As for reaping the merit, what would I want with merit like this?"
     
  17. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    ทุกข์เพราะอะไร

    สุภาพสตรีวัยเลยกลางคนผู้หนึ่ง เข้านมัสการหลวงปู่ พรรณาถึงฐานะของตนว่าอยู่ในฐานะที่ดี ไม่เคยขาดแคลนสิ่งใดเลย มาเสียใจกับลูกชายที่สอนไม่ได้ ไม่อยู่ในระเบียบแบบแผนที่ดี ตกอยู่ภายใต้อำนาจอบายมุขทุกอย่าง ทำลายทรัพย์สมบัติและจิตใจของพ่อแม่จนเหลือที่จะทนได้ ขอความกรุณาหลวงปู่ให้ช่วยแนะอุบายบรรเทาทุกข์ และแก้ไขให้ลูกชายพ้นจากอบายมุขนั้นด้วย ฯ

    หลวงปู่ก็แนะนำสั่งสอนไปตามเรื่องนั้นๆ ตลอดถึงแนะอุบายทำใจให้สงบ รู้จักปล่อยวางให้เป็น ฯ

    เมื่อสุภาพสตรีนั้นกลับไปแล้ว หลวงปู่ปรารภธรรมะให้ฟังว่า

    "คนเราสมัยนี้ เขาเป็นทุกข์เพราะความคิด."



    <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo-->


    Why do they suffer?

    A middle-aged lady once came to pay respect to Luang Pu. She described her situation in life, saying that her social position was good and she had never lacked for anything. She was upset, though, over her son, who was disobedient, disorderly, and had fallen under the influence of every kind of evil amusement. He was laying waste to his parents' wealth, as well as to their hearts, in a way that was more than they could bear. She asked Luang Pu to advise her on an approach that would lessen her suffering, as well as getting her son to give up his evil ways.

    Luang Pu gave her some advice on these matters, also teaching her how to quiet her mind and how to let go.

    After she had left, he commented,

    "People these days suffer because of thoughts."
     
  18. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    เป็นการดัดนิสัยหรือเปล่า

    เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองผ่านพ้นไปแล้วเป็นเวลา ๖ ปี ผลได้ที่สงครามฝากไว้ให้ก็คือความยากจนค่นแค้นแสนเข็ญด้วยขาดแคลนเครื่องอุปโภคบริโภค ได้แผ่ปกคลุมไปแล้วทุกหย่อมหญ้า โดยเฉพาะเครื่องนุ่งห่ม ขาดแคลนอย่างยิ่ง พระเณรในวัดต่างๆ มีสบงจีวรชุดเดียวก็บุญนักหนาแล้ว พวกเราเป็นสามเณรอยู่กับหลวงปู่หลายรูปฯ

    วันหนึ่งสามเณรพรม ซึ่งเป็นหลานของหลวงปู่รูปหนึ่งด้วยเขาเห็นสามเณรชุมพลห่มจีวรใหม่และสวย จึงถามว่า จีวรนี้ท่านได้แต่ไหนมา เณรชุมพลตอบว่า เราเข้าไปทำวาระถวายหลวงปู่ หลวงปู่เห็นของเราขาด ท่านจึงประทานมาให้ผืนหนึ่งฯ

    เมื่อถึงวาระเณรพรม จึงห่มจีวรขาดไปนวดเท้าหลวงปู่ ด้วยคิดว่าจะได้อย่างเขาบ้าง พอเสร็จวาระกำลังจะออกมา หลวงปู่เห็นจีวรขาด คงสงสารหลานอย่างจับใจ จึงลุกไปเปิดตู้หยิบเอาของยื่นมาให้ พร้อมกับสั่งว่า

    "นี่เอาไปเย็บให้ดี อย่าห่มทั้งที่ขาดอย่างนี้"

    สามเณรพรมต้องจำใจรับด้ายกับเข็มจากหลวงปู่อย่างรวดเร็ว ด้วยความผิดหวัง



    <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo-->


    Teaching him a lesson?

    Six years after the Second World War was over, the legacy of the war remained in the form of the poverty and difficulties caused by the shortages of food and materials that affected every home. In particular, there was a great shortage of cloth. If a monk or novice had even one complete set of robes, he was fortunate.

    I was one of a large number of novices living with Luang Pu. One day Novice Phrom, another one of Luang Pu's nephews, saw Novice Chumpon wearing a beautiful new robe, so he asked him, "Where did you get that robe?" Novice Chumpon told him, "I was taking my turn attending to Luang Pu. He saw that my robe was torn, so he gave me a new one."

    When it came Novice Phrom's turn to give Luang Pu a foot massage, he wore a torn robe, with the idea that he'd get a new robe, too. When he had finished his duties and was leaving, Luang Pu noticed the tear in the robe and was struck with pity for his nephew. So he got up, opened a cabinet, and handed his nephew something, saying,

    "Here. Sew that up. Don't go around wearing a robe all torn like that."

    Disappointed, Novice Phrom had to quickly accept the needle and thread from Luang Pu's hand.
     
  19. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    อุทานธรรม

    หลวงปู่ยังกล่าวธรรมกถาต่อมาอีกว่า สมบัติพัสถานทั้งหลายมันมีประจำอยู่ในโลกมาแล้วอย่างสมบูรณ์ ผู้ที่ขาดปัญญาและไร้ความสามารถ ก็ไม่อาจจะแสวงหาเพื่อยึดครองสมบัติเหล่านั้นได้ ย่อมครองตนอยู่ด้วยความฝืดเคืองและลำบากขันธ์ ส่วนผู้ที่มีปัญญาความสามารถ ย่อมแสวงหายึดสมบัติของโลกไว้ได้อย่างมากมายอำนวยความสะดวกสบายแก่ตนได้ทุกกรณีฯ ส่วนพระอริยเจ้าทั้งหลายท่านพยายามดำเนินตนเพื่อออกจากสิ่งเหล่านี้ทั้งหมด ไปสู่ภาวะแห่งความไม่มีอะไรเลย เพราะว่า

    "ในทางโลก มี สิ่งที่ มี ส่วนในทางธรรม มี สิ่งที่ ไม่มี"



    <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo-->


    Inspired words

    Luang Pu continued with a Dhamma talk, saying, "Material things are already there in the world in a way that's perfectly complete. People who lack the discernment and ability can't take possession of them and so they have difficulties in providing for themselves. Those with the discernment and ability can take possession of the valuables of the world in large quantities, making life convenient and comfortable for themselves in all circumstances. As for the noble ones, they try to conduct themselves for the sake of gaining release from all those things, entering a state where they have nothing at all, because —

    "In the area of the world, you have things that you have. In the area of the Dhamma, you have something you don't have."
     
  20. paang

    paang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2005
    โพสต์:
    9,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,328
    อุทานธรรมต่อมา

    เมื่อแยกพันธะแห่งความเกี่ยวเนื่องจิตกับสรรพสิ่งทั้งปวงได้แล้ว จิตก็จะหมดพันธะกับเรื่องโลก

    รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส จะดีหรือเลว มันขึ้นอยู่กับจิตที่ออกไปปรุงแต่งทั้งนั้น แล้วจิตที่ขาดปัญญาย่อมเข้าใจผิด เมื่อเข้าใจผิดก็หลง ก็หลงอยู่ภายใต้อำนาจของเครื่องร้อยรัดทั้งหลาย ทั้งทางกายและทางใจ

    อันโทษทัณฑ์ทางกายอาจมีคนอื่นช่วยปลดปล่อยได้บ้าง ส่วนโทษทางใจ มีกิเลสตัณหาเป็นเครื่องรึงรัดไว้นั้น ต้องรู้จักปลดปล่อยตนด้วยตนเอง

    "พระอริยเจ้าทั้งหลาย ท่านพ้นจากโทษทั้งสองทางความทุกข์จึงครอบงำไม่ได้"



    <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:72:-->[​IMG]<!--endemo-->

    More inspired words

    "When you can separate the mind from its involvement with all things, the mind is no longer tied to sorrow.

    Whether sights, sounds, smells, tastes, or tactile sensations are good or bad depends on the mind's going out to fashion them in that way.

    When the mind lacks discernment, it misunderstands things. When it misunderstands things, it gets deluded under the influence of all things that are binding, both physically and mentally.

    The ill effects and punishments we suffer physically are things from which other people can help free us, to at least some extent.

    But the ill effects within the mind, to which the mind is in bondage through defilement and craving, are things from which we have to learn to free ourselves on our own.

    "The noble ones have freed themselves from ill effects of both sorts, which is why suffering and stress can't overcome them."
     

แชร์หน้านี้

Loading...